พุทธวิธีการจัดการการศาสนศึกษาแผนกธรรม Buddhist Method of Religious Studies Management


Abstract


การจัดการศาสนศึกษาของคณะสงฆ์ไทย เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาที่สำคัญต่อสังคมไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ทั้งนี้เพราะการศึกษาของคนไทยมีความสัมพันธ์กับสถาบันวัดและพระสงฆ์ตลอดมา วัดจึงเป็นศูนย์กลางการศึกษาของชุมชน พระสงฆ์ทำหน้าที่เป็นผู้สอนวิชาการต่างๆ อบรมศีลธรรมจรรยาให้กับกุลบุตรไทย การศึกษาของคณะสงฆ์ไทยแต่เดิมนั้น เริ่มต้นมาตั้งแต่ครั้งสมัยพุทธกาล โดยถือว่าเป็นหน้าที่หลักของพระสงฆ์ในพุทธศาสนาที่เรียกว่า ธุระ ซึ่งมี 2 ประการ คือ 1) คันถธุระ ได้แก่ ธุระฝ่ายพระคัมภีร์ คือ การศึกษาหลักพระธรรมอันเป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า  และ 2) วิปัสสนาธุระ ได้แก่ ธุระฝ่ายเจริญวิปัสสนา ซึ่งรวมทั้งสมถะด้วย อันเป็นเครื่องมือหรืออุบายฝึกหัดจิตใจของคนให้สะอาดปราศจากกิเลสเครื่องเศร้าหมองทั้งปวง การศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยของพระพุทธศาสนาของบรรพชิตและคฤหัสถ์เป็นกิจการของคณะสงฆ์ประการหนึ่งที่สำคัญยิ่ง ในระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลางของมหาเถรสมาคม ได้กำหนดวิธีการดำเนินการควบคุมและส่งเสริมศาสนศึกษาว่า “ควบคุมและส่งเสริมการศาสนศึกษาให้ดำเนินไปด้วยดี”


Keywords


พุทธวิธีการจัดการ, การศาสนศึกษา

Full Text:

PDF

References


กนก แสนประเสริฐ. (2549). ประมวลพระราชบัญญัติคณะสงฆ์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. (2556) ประวัติพระพุทธศาสนาแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ภาค 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.

กองธรรมธรรมสนามหลวง. (2548). การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม. กรุงเทพมหานคร: อาทรการพิมพ์.

จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์. (2545). สังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2553) พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คาวัด, พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม.

พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธิ). (2548). วิปัสสนากรรมฐาน. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.

พระธรรมปริยัติโสภณ (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ). (2548). การคณะสงฆ์และการพระศาสนา, พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2546). พระไตรปิฎก สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้. กรุงเทพมหานคร: เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2552). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.

ฟื้น ดอกบัว. (2542). พระพุทธศาสนากับคนไทย. กรุงเทพมหานคร: ศิลปาบรรณาคาร.

มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ และคณะ. (2542). บทบาทของพระสงฆ์ในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพมหานคร: เอส แอนด์ จี กราฟฟิก.

สมชาย ไมตรี. (2539). “การศึกษาของคณะสงฆ์ในประเทศไทย”, รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.

สมศักดิ์ บุญปู่. (2552). การพัฒนาการศึกษาสงฆ์. สารนิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: นวสารน์การพิมพ์.

สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง. (2544). เรื่องสอบธรรมสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ. 2544. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา.

เสถียร โพธินันทะ. (2544). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: สร้างสรรค์บุ๊คส์.

เอส. ดัตต์. (2543). การศึกษาในพระพุทธศาสนา. แปลโดย อมร โสภณวิเชฏฐวงศ์. กรุงเทพ มหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

Chandradhar Sharma. (1991). A Critical Survey of Indian Philosophy. 8th ed. Delhi: Motilal Banarsidass.

Monier Williams. (1920). A Sanskrit English Dictionary. Revised edition. USA: Oxford University Press.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.