การยุยงให้ผู้อื่นฆ่าตัวตาย ตามพุทธวินัยบัญญัติและตามกฎหมายอาญาของไทย The Offense Instigates Others to Commit Suicide According to Buddhist Discipline and Criminal Law

สมศักดิ์ สุกเพ็ง

Abstract


การที่องค์ประกอบของความรับผิดทางอาญาในความผิดฐานยุยงให้ผู้อื่นฆ่าตัวตายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 293 จำกัดเฉพาะกรณีของการยุยงเด็กอายุยังไม่เกินสิบหกปี หรือผู้ซึ่งไม่สามารถเข้าใจว่าการกระทำของตนมีสภาพหรือสาระสำคัญอย่างไร หรือไม่สามารถบังคับการกระทำของตนได้ ให้ฆ่าตัวตายเท่านั้น จึงจะเป็นความผิดซึ่งผู้กระทำจะได้รับโทษตามกฎหมาย ทำให้การบังคับใช้กฎหมายในเรื่องดังกล่าวไม่เหมาะสมและสอดคล้องกับข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการฆ่าตัวตายที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ดังนั้น จึงสมควรขยายขอบเขตความผิดดังกล่าวให้กว้างมากขึ้น โดยกำหนดให้ครอบคลุมถึงกรณีของการยุยงบุคคลอื่นนอกเหนือจากที่มาตรา 293 บัญญัติไว้ด้วยเช่นเดียวกับหลักพุทธวินัยบัญญัติที่มุ่งคุ้มครองชีวิตมนุษย์อย่างเสมอกัน

Keywords


การยุยงให้ผู้อื่นฆ่าตัวตาย พุทธวินัยบัญญัติ กฎหมายอาญา

Full Text:

PDF

References


ก. ข้อมูลปฐมภูมิ

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ข. หนังสือ

คณพล จันทน์หอม.(2558). คำอธิบายกฎหมายอาญาภาคความผิด เล่ม 1. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.

คณิต ณ นคร. (2553). กฎหมายอาญาภาคความผิด. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.

_______. (2556). กฎหมายอาญา ภาคทั่วไป. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.

จิตติ ติงศภัทิย์. (2553). คำอธิบายประมวลกฎหมายอาญาภาค 2 ตอน 2 และภาค 3. กรุงเทพมหานคร: เนติบัณฑิตยสภา.

_______. (2555). คำอธิบายประมวลกฎหมายอาญา ภาค 1.กรุงเทพมหานคร: เนติบัณฑิตยสภา.

ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. (2559). คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาคความผิดและลหุโทษ. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.

อนันต์ ชุมวิสูตร. (2556). เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายอาญาภาคความผิด หน่วยที่ 6-10. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

หยุด แสงอุทัย. (2553). กฎหมายอาญา ภาค 2-3. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.