การพัฒนาพลเมืองอาเซียนเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดี ขององค์การในการรองรับประชาคมอาเซียน

รุ่งโรจน์ ศิริพันธ์

Abstract


ประเทศไทยในฐานะประเทศผู้ริเริ่มและผลักดันให้เกิดเป็นประชาคมอาเซียน ต้องมี การเตรียมความพร้อม และการพัฒนาประชาชนในประเทศให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลง เพื่อ รองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ในปี ๒๕๕๙ ซึ่งการรองรับประชาคมอาเซียนนั้นควรจะ เริ่มต้นจากการพัฒนา “ทุนมนุษย์” โดยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ นั้นคือ ประชาชนใน ประเทศหรือพลเมืองอาเซียน โดยการสร้างความตระหนักรู้ให้กับทุกภาคส่วนในสังคม โดย เฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ให้ตระหนักถึงความเป็นพลเมืองอาเซียน ให้มีทัศนคติที่ดีและ มีพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพของ พลเมืองอาเซียน เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติและภูมิภาค เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ในยุคโลกาภิวัตน์ และการรองรับประชาคมอาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

Keywords


ประชาคมอาเซียน, พลเมืองอาเซียน, การพัฒนา, ทุนมนุษย์, พฤติกรรม การเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ

Full Text:

PDF

References


กรมประชาสัมพันธ์. ประเทศไทยกับอาเซียน. กรุงเทพฯ : ส�ำนักการประชาสัมพันธ์

ต่างประเทศ 2554

จีระ หงส์ลดารมภ์. 8K’s+5K’s: ทุนมนุษย์คนไทยรองรับประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ

:มิสเตอร์ก็อปปี้. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.chinnaworn.com/index.

php?lay= show&ac=article&Id=539155790&Ntype=1

สำนักงานก.พ. ก้าวสู่ประชาคม ASEAN 2015. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สานัก

งานก.พ. 2555.

สักกรินทร์ นิยมศิลป์. อาเซียนจากมุมมองของนักศึกษา 10 ประเทศ. ประชากรและ

การพัฒนา สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ปีที่ 32 ฉบับที่ 5 พ.ศ. 2555

เดือน มิถุนายน -กรกฎาคม 2555. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.popterms.

mahidol.ac.th/ newsletter/showarticle.php?articleid=296

สุรศักดิ์ ปาเฮ.. การศึกษาไทยกับประชาคมอาเซียน: ศักยภาพและความพร้อมเชิง

ระบบ.

[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.flipbooksoft.com/upload/

books/02-2012/ d5b3117a9c52443cd10e2da75aaf68d4/.pdf

สุรินทร์ พิศสุวรรณ. กลยุทธ์การรับมือกับประชาคมอาเซียน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:

http://www.youtube.com/watch?v=GoWoe5BBDus

Greenberg, J and R.B. Baron. (2002). Managing Behavior in Organizations.

rd ed.

New Jersey: Prentice Hall, Inc.

James, M. D., J. B. Douglas, Allen M. K. and G. L. Robert. (2002). Examining

the roles of job involvement and work centrality in predicting organizational

citizenship behaviors and job performance. Journal of Organizational

Behavior. 23, 93- 108 (2002).

Moorhead, G. and R. W. Griffin. (2001). Organizational Behavior: Managing

People and Organizations. 6th ed. Massachusetts: Houghton Mifflin Company.

Newstrom, J. W. and K. Davis. (1997). Organizational Behavior: Human

Behavior at Work. 10th ed. New York: McGrew-Hill, Inc.

Niehoff, P. B. (2001). A Motive-Based View of Organizational Citizenship

Behaviors: Applying an Old Lens to a New Class of Organizational

Behaviors. Digital Dissertation: Kansas State University.

Organ, D.W. (1991). Organizational Behavior. 4th ed. Illinois: Richard D.

Irwin, Inc.

Smith, A.C., Organ, D.W., and Near, P.J. (1983). Organizational citizenship

behavior: Its nature and antecedents. Journal of Applied Psychology. 68 (4)


Refbacks

  • There are currently no refbacks.