อัตลักษณ์ร่วมความศรัทธาในอาเซียนผ่านความเชื่อการนับถือผีบรรพบุรุษ

อณิษฐา หาญภักดีนิยม

Abstract


ความเชื่อเป็นพื้นฐานสำคัญยิ่งของมนุษย์ มนุษย์แต่ละกลุ่มมีความเชื่อแตกต่างกัน ไป ความเชื่อเปรียบเสมือน ความศรัทธาหรือความยึดมั่นในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เป็นแกนกลาง ในการดำเนินชีวิตและความมั่นคงของสังคม เป็นพื้นฐานในการดำ รงชีวิตภายใต้การมีอัตลักษณ์ร่วมกัน ก่อให้เกิดความเข้าใจและการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ผ่านกระบวนการนับถือ ผีบรรพบุรุษ ซึ่งมีผลต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคมและยังแสดงให้เห็นถึงความ กตัญญูต่อบรรพบุรุษ เป็นการสร้างศักยภาพใหม่ของประชาคมอาเซียน ให้มีความเป็น เอกภาพเดียวกัน ภายใต้สังคมที่มีพื้นฐานความเชื่อผ่านความเอื้ออาทรและความกตัญญู เป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ของสมาชิกในอาเซียน โดยเฉพาะในประเทศไทยเชื่อว่าผี คือ เทพยดาที่ให้ความคุ้มครองพิทักษ์รักษาชีวิตหรืออาจลงโทษผู้กระทำ ผิดให้ถึงแก่ชีวิตได้ จากการนับถือผ่านพิธีกรรมต่าง ๆ เป็นสิ่งที่สามารถยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในสังคม จน กลายเป็นวัฒนธรรมในการปฏิบัติสืบทอดต่อกัน ประกอบกับประเทศในสมาชิกอาเซียน ยังมีความเชื่อที่คล้ายคลึงกัน แต่อาจมีชื่อเรียกที่แตกต่างกัน แต่เป้าหมายก็เพื่อที่จะบูชา ระลึกถึงบรรพบุรุษของตนเอง เช่น พม่า เรียกว่า นัต กัมพูชา เรียกว่า ผีแฃอารักษ์เนียะตา อินโดนีเซียมีความเชื่อเกี่ยวกับ วิญญาณแห่งภูเขาไฟ รวมถึงเวียดนามและประเทศลาว ก็ มีความเชื่อที่ผูกพันกับธรรมชาติที่มีความสำคัญเป็นอย่างมากในด้านจิตใจ นำ ไปสู่การบูชา วิญญาณบรรพบุรุษเช่นกัน ความเชื่อเหล่านี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมีประโยชน์ในการ ช่วยเกื้อหนุนซึ่งกันและกันและสร้างศักยภาพใหม่ของประชาคมอาเซียน สามารถเป็นสื่อใน การสร้างความเป็นอัตลักษณ์เดียวกันผ่านวัฒนธรรมประเพณีต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี

Keywords


อัตลักษณ์ร่วม, ศรัทธา, ความเชื่อผีบรรพบุรุษ

Full Text:

PDF

References


เกียรติชัย พงษ์พาณิชย์. (2558). อาเซียนความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใต้.

พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำ นักพิมพ์แสงดาว.

วิทยา มิตรศรัทธา. (2558). รอบรู้ประชาคมอาเซียน. กรุงเทพมหานคร: บริษัท

เจเนซิส มีเดียคอม จำกัด.

วิมลพรรณ ปีตธวัชชัย. (2558). ฮีตสิบสอง. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา

ลาดพร้าว.

พระธรรมโกศาจารย์ หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ. (2552).38 มงคลชีวิต หลักปฏิบัติ

มงคลของคนดี.

กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.

ประชิด สกุณะพัฒน์. (2551).วัฒนธรรมพื้นบ้านและประเพณีไทย.

กรุงเทพมหานคร: สำ นักพิมพ์ภูมิปัญญา.

พร รัตนสุวรรณ. (2551). ผีและเทวดามีจริง. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพ์วิญญาณ.

สนิท สมัครการ. (2549). ความเชื่อและศาสนาในสังคมไทยวิเคราะห์เชิงสังคมมานุษยวิทยา. กรุงเทพมหานคร:

สำ นักพิมพ์ โอเดียสโตร์.

อมร โสภณวิเชฎฐวงศ์. (2552). พระพุทธศาสนากับวัฒนธรรมและการเมือง.

นครปฐม:

โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

วารสาร

เอี่ยม ทองดี. มรดกธรรมชาติกับภูมิปัญญาท้องถิ่นพื้นบ้าน. วารสารเพื่อการ

ศึกษาและเผยแพร่ภาษาและ

วัฒนธรรม สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล,

กรกฎาคม-ธันวาคม 2541.

เว็ปไซต์

เกวลิน รัตนาวลีอาภรณ์. ความเชื่อศาสนาของคนไทยทรงดำ . สืบค้นเมื่อวันที่:

กันยายน 2559, จากhttp://www.crs.mahidol.ac.th/thai/keawarin.htm.

ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุล.(2559). ศาสนา ศรัทธา ความเชื่อของชาวอาเซียน. สืบค้น

เมื่อวันที่: 6 กันยายน 2559,

จาก http://www.oknation.net/blog/nakamonTH.

สันติพจน์ กลับดี. แนวทางการสร้างอัตลักษณ์ของประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

อาเซียน. สืบค้นเมื่อวันที่: 10

กันยายน 2559, จากhttp://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=4502&-

filename=index.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.