การนำนโยบายเสริมสร้างความมั่นคงของชาติไปปฏิบัติตามหลักอัฏฐังคิกมรรค เพื่อความผาสุกของปวงชนชาวไทย

พัฒน์ธนธร ตันติเวชยานนท์

Abstract


บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง “การนำนโยบายเสริมสร้างความมั่นคงของ ชาติไปปฏิบัติตามหลักอัฏฐังคิกมรรค เพื่อความผาสุกของปวงชนชาวไทย” มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการนำนโยบายเสริมสร้างความมั่นคงของ ชาติไปปฏิบัติ เพื่อความผาสุกของปวงชนชาวไทย และ 2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการนำ นโยบายเสริมสร้างความมั่นคงของชาติไปปฏิบัติตามหลักอัฏฐังคิกมรรค เพื่อความผาสุก ของปวงชนชาวไทย โดยมีระเบียบวิธีการวิจัยคือการวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัย พบว่า 1) การนำนโยบายเสริมสร้างความมั่นคงของชาติไปปฏิบัติ มีการปฏิบัติอยู่ในระดับดีปานกลาง และ 2) แนวทางการพัฒนาการนำนโยบายเสริมสร้างความมั่นคงของชาติไปปฏิบัติตามหลัก อัฏฐังคิกมรรค ได้แก่ ด้านความมั่นคงผาสุกที่เป็นแก่นหลัก ด้วยสัมมาทิฏฐิคือความเข้าใจ ถูกต้อง สัมมาสังกัปปะคือความใฝ่ใจถูกต้อง สัมมาวาจาคือการพูดจาถูกต้อง และสัมมากัม มันตะคือการกระทำถูกต้อง และด้านความมั่นคงผาสุกทั่วไป ด้วยสัมมาอาชีวะคือการดำรง ชีพถูกต้อง สัมมาวายามะคือความพากเพียรถูกต้อง สัมมาสติคือการระลึกประจำใจถูกต้อง และสัมมาสมาธิคือการตั้งใจมั่นถูกต้อง

Keywords


นโยบายเสริมสร้างความมั่นคง, หลักอัฏฐังคิกมรรค, ความผาสุกของปวงชน

Full Text:

PDF

References


เจษฎา มีบุญลือ. (2553). ความมั่นคงแห่งชาติ : การสร้างชาติไทยให้ยั่งยืน.

กรุงเทพฯ: สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.

ว.วชิรเมธี. (2551). คนสำราญ งานสำเร็จ. แนวมรรค 8 (อัฏฐังคิกมรรค).

พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. (2558). นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. 2558-2564. กรุงเทพฯ: คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.

สำนักนายกรัฐมนตรี.(2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.

-2564). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2557). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี.

กรุงเทพฯ: คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.

โสภณ ศิริงาม. (2559). ยุทธศาสตร์ชาติของรัฐไทยในยุคผ่อนคลายความตึงเครียด.

กรุงเทพฯ: วิทยาลัยป้องกันราชอาราจักร.

Yamane, T. (1974). Statistic and Introductory Analysis. 2nd

New York: Harper & Row


Refbacks

  • There are currently no refbacks.