หลักพุทธธรรมกับการแก้ปัญหาความซับซ้อน Buddhist Principles and Problem Solving of Complexity
Abstract
หลักพุทธธรรมเป็นหลักธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ได้ชื่อว่าเป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย โดยผ่านการประพฤติปฏิบัติจนได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ทรงรู้อะไร ก็ทรงตรัสรู้ความจริงอันประเสริฐของชีวิตของธรรมชาติ หรือหลักธรรมที่เราเรียกว่า อริยสัจ ๔ หลังจากตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าแล้ว พระองค์ทรงใช้เวลาตลอด 45 พรรษา ในการสั่งสอนการจัดการทั้งหลักธรรม และการปฏิบัติ การแก้ไขปัญหาความซับซ้อนของชีวิต โดยมีกระบวนการแก้ปัญหาความซับซ้อนให้เริ่มจาก ทุกข์ คือ ให้รู้ว่าปัญหาเป็นอย่างไร มีความร้ายแรงขนาดไหน สมุทัย คือ ต้นเหตุของปัญหาเกิดขึ้นจากอะไร นิโรธ คือ หาวิธีการแก้ปัญหาความซับซ้อน และสุดท้าย มรรค นำวิธีการแก้ปัญหาที่ได้คัดเลือกแล้วไปปฏิบัติ แต่ทว่าก่อนการลงมือแก้ปัญหานั้น จะต้องรู้สิ่งที่ควรกระทำก่อน ชื่อว่า บุพนิมิตแห่งมรรค มี 7 ประการด้วยกัน ได้แก่ 1) กัลยาณมิตตตา 2) สีลสัมปทา 3) ฉันทสัมปทา 4) อัตตสัมปทา 5) ทิฏฐิสัมปทา 6) อัปปมาทสัมปทา 7) โยนิโสมนสิการสัมปทา
Keywords
Full Text:
PDFReferences
ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์. (2543). เสวนาประจำสัปดาห์ ครั้งที่ 9 . การเสวนาจัดโดยวิทยาลัยวันศุกร์, บางกอกฟอรั่ม.
พระพรหมบัณฑิต. (2555). วัฒนธรรมแห่งปัญญา. สืบค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2562 จาก https://www.thairath.co.th/content/316562
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุคส์ พับลิเคชั้นส์.
______________. (2552). พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สำนักงานราชบัณฑิตยสภา.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2562). ตัวนำวิถีของการพัฒนาชีวิต. สืบค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2562 จาก https://www.payutto.net/book-content/ตัวนำวิถี-พัฒนาชีวิต
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตโต). (2559). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. กรุงเทพฯ : สหธรรมิก.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก. (2558). ใจความสำคัญแห่งพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : วัดบวรนิเวศวิหาร.
สุภาคย์ อินทองคง. (2550). การใช้หลักพุทธธรรมนำการวิจัยและพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สุขภาพองค์รวม. สงขลา : ศูนย์เรียนรู้ชุมชนภาคใต้ (ศรช.)
Dekker, S., Cilliers, P., & Hofmeyr, J.-H. (2011). The complexity of failure: implications of complexity theory for safety investigations. Safety Science, 49(6), 939–945. doi: 10.1016/j.ssci.2011.01.008
Kauffman, Broche, G., & Marinescu, P. (2008). Deschideri spre lumea complexităìii. Ed. Universităìii din Bucureèti.
Seth Lloyd. (2006). Cited by Azim, Syed and others. (2010). The importance of soft skills in complex projects. International Journal of Managing Projects in Business, 3(3), 387 – 401. doi:10.1108/17538371011056048
Shahram Mirzaei Daryani, Amir. A. (2016). Management and Organizational Complexity. Procedia Social and Behavioral Sciences, 230 (2016), 359-366.
Refbacks
- There are currently no refbacks.