มุสลิมชีอะห์จากอิหร่านกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์มุสลิมในประเทศไทย Shia Muslim from Iran and the Historical Development of Muslim in Thailand

วรพจน์ วิเศษศิริ, ลำพอง กลมกูล

Abstract


บทความนี้มุ่งศึกษา มุสลิมชีอะห์จากอิหร่านผู้สร้างประวัติศาสตร์ และพัฒนาการของมุสลิมในอยุธยา และส่งผลต่อเนื่องเป็นพัฒนาการของมุสลิม ในประเทศไทยจนกระทั่งปัจจุบัน ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ผลการศึกษาที่พบ พัฒนาการของชาวอิหร่าน “เฉก อะหมัด กูมี” ผู้นำศาสนาอิสลามเข้าไปเผยแผ่ในอยุธยา และสามารถสร้างการยอมรับให้กับราชสำนักแห่งอยุธยา จนถูกยกย่องและแต่งตั้งให้เป็นจุฬาราชมนตรีคนแรกในราชสำนักอยุธยา และสายตระกูลชีอะห์โดยเฉพาะจากอิหร่าน ยังดำรงตำแหน่งเป็นจุฬาราชมนตรี มาจนถึงลำดับที่ 13 ทำหน้าที่ ในการบริหารประสาน ปกครอง มุสลิมในอยุธยากับราชสำนักในขณะนั้น นับเป็นพัฒนาการของมุสลิมนิกายชีอะห์ในราชสำนักอยุธยา สยาม และประเทศไทยกระทั่งปัจจุบัน

Keywords


มุสลิมชีอะห์, อิหร่าน, มุสลิมในสมัยอยุธยา

Full Text:

PDF

References


กิติมา อมรทัต. (2547). ศิลปะเปอร์เซีย. กรุงเทพฯ : ศูนย์วัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน.

จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างสถาปัตยกรรมอินโด-เปอร์เซียกับรูปแบบสถาปัตยกรรมในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ที่พระนารายณ์ราชนิเวศน์เมืองลพบุรี. วารสารหน้าจั่ว, 8, 11-53.

________. (2546). ขุนนางกรมท่าขวา: การศึกษาบทบาทและหน้าที่ในสมัยอยุธยาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ พ.ศ.2153-2435. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม. (2551). สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค). กรุงเทพ ฯ : บริษัท สร้างสรรค์บุ๊คส์ จำกัด.

ดิเรก กุลสิริสวัสดิ์. (2517). ความสัมพันธ์ของมุสลิมทางประวัติศาสตร์และวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ : สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย.

ปิยรัตน์ อินทร์อ่อน. (2535). วิจัยเรื่อง รูปแบบการแย่งชิงอำนาจทางการเมืองในสมัยอยุธยา พ.ศ.1893-2310. กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปิยนาถ นิโครธา. (2513). บทบาทของเสนาบดีแห่งตระกูลบุนนาคในการปกครองประเทศสยามตั้งแต่รัชกาลที่ 1 ถึงต้นรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตน์โกสินทร์ (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2416) (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธาริณี สุนทรนันทกิจ. (2545). การนับถือศาสนาของชาวสยามในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จากหนังสือประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม ของ นิโกลาส์ แชร์แวส (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พลับพลึง คงชนะ. (2548). “ประวัติศาสตร์ตำแหน่งจุฬาราชมนตรีแห่งประเทศไทย,” ในมิตรภาพไทย-อิหร่าน ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกว่า 400 ปี. หนังสือที่ระลึกความสัมพันธ์การทูตไทย-อิหร่านครบรอบ 50 ปี. กรุงเทพ ฯ : สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน.

________. (2549). “อิหร่าน : พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ชุมชนที่กรุงศรีอยุธยา,” ในพระอาทิตย์ชิงดวง. รวมบทความทางวิชาการและบทคัดย่อปริญญานิพนธ์ ที่ระลึกในวาระ 60 ปีและเกษียณอายุราชการพลับพลึง คงชนะ. กรุงเทพ ฯ : สันติศิริการพิมพ์.

________. (2544). พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ชุมชนชาวเปอร์เซียในอยุธยา. ในความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ระหว่างอิหร่านและประเทศไทย. กรุงเทพ ฯ : ศูนย์วัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูต สาธารณรัฐอิสลามแห่งอิหร่าน.

พิทยะ ศรีวัฒนสาร. (2541). ชุมชนชาวโปรตุเกสในสมัยกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 2059-2310 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิทยา บุนนาค. (2548). มุสลิมผู้นำ"ปฐมจุฬาราชมนตรี" คนแรกในสยาม. กรุงเทพ ฯ : มติชน.

มองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์. (2557). จดหมายเหตุ ลาลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม. ผู้แปล สันต์ ท. โกมลบุตร. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์ศรีปัญญา.

รัฐพล ศิลปะอาชา. (2545). การศึกษาเพื่อการคืนสภาพอาคารสมัยสมเด็จพระนารายณ์ฯ : วัดตองปุ อ.เมือง ลพบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อนันต์ อมรรตัย. (2541). พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเสนาบดีเอกแห่งตระกูล “บุนนาค”. กรุงเทพ ฯ : ไพลิน.

อานนท์ เรืองกาญจนวิทย์. (2545). การออกแบบพระอุโบสถ และพระวิหารแบบไทยประเพณี สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2173-2310) (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Julispong Chularatana.(2536).Khaek in Klong PhapKhon Tang Phasa at Wat Pho: A Reflection of Muslim Studies of the ErlyRattanakosin Era Elite. Journal of Humanities, 36 (1), 36-111.

________. (2008). The Shi’Ite Muslims In Thailand From Ayutthaya Period

to The Present. MANUSYA: Journal of Humanities,16 (Special Issue), 37-58.

________. (2007). Muslim Communities During the Ayutthaya Period . MANUSYA: Journal of Humanities. 10 (1),89-107.

Muhammad Ismail Marcinkowski. (2000). “Persian Religious and Cultural Influences in Siam/Thailand and Maritime Southeast Asia in Historical Perspective: A Plea for a Concerted Interdisciplinary Approach”. Journal of the Siam Society. 88(1&2), 186-194.

Muḥammad Rabī ibn Muḥammad Ibrāhīm. (1972). The Ship of Sulaimān. London: Routledge & K.Paul.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.