บทบาทพุทธศิลปะในวิถีการดำเนินชีวิตของประชาคมอาเซียน The Role of Buddhist Arts for the Way of life in ASEAN Community

พระมหา จีรวัฒน์ กนฺตวณฺโณ, พระมหา ชาติชาย ปญฺญาวชิโร

Abstract


บทบาทพุทธศิลปะในประเทศอาเซียน แสดงออกในฐานะที่เป็นศิลปะในการดำเนินชีวิตตั้งแต่เกิดจนตาย ซึ่งสะท้อนผ่านบทบาทการดำเนินชีวิตของประชาชน หรือกรอบของวัฒนธรรมทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ คติธรรม เนติธรรม วัตถุธรรม และสหธรรม บทบาทของพุทธศิลปะทั้ง 4 ด้าน ดังกล่าว เป็นการสร้างโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อกันและกันทำให้เข้าใจกันและกัน รวมถึงความหลากหลายของพระพุทธศาสนา ที่เข้าได้กับทุกวัฒนธรรม ดังที่องค์ทะไลลามะของทิเบตเคยตรัสว่า พระพุทธศาสนานั้นเป็นศาสนาที่เข้าได้กับทุกวัฒนธรรม ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่ ส่งเสริมวัฒนธรรมนั้นให้เป็นอารยธรรมยิ่งขึ้นในขณะเดียวกันอุปสรรคที่จะทำให้การร่วมมือในการขับเคลื่อนบทบาทนี้เป็นไปไม่ได้ หรือไม่เป็นตามกรอบของอาเซียนที่ได้กำหนดไว้ ก็อยู่ที่การเข้าใจผิดที่มีต่อยึดติดกับการนับถือตามแบบของตนเองโดยไม่เปิดใจกว้าง โดยมุ่งเน้นแต่เพียงว่าพระพุทธศาสนาตามที่ประเทศตนเท่านั้นเป็นพระพุทธศาสนาที่ถูกต้อง ปฏิบัติถูกต้อง ประเทศอื่นนั้นไม่ถูกต้อง ไม่สำรวม การเข้าไปกำหนดวัฒนธรรมของตนเป็นวัฒนธรรมที่ดีอย่างเดียว นั้นทำให้เป็นอุปสรรคต่อการร่วมกันกำหนดบทบาทด้านนี้ดังนั้น ความสำเร็จของการแสดงบทบาทพุทธศิลปะในอาเซียน จะเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด ก็ขึ้นอยู่กับนโยบายของผู้นำแต่ละประเทศ ที่สำคัญคือ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการผลักดันร่วมมือกัน และสร้างความรับผิดชอบร่วมกัน ไม่ควรให้เป็นหน้าที่ของคณะสงฆ์ ภาครัฐหรือผู้มีส่วนรับผิดชอบเท่านั้น

Keywords


บทบาทพุทธศิลปะ, วิถีการดำเนินชีวิต, กรอบวัฒนธรรม

Full Text:

PDF

References


ที.ม.(ไทย) 10/152-162/126-136.

ขุ.อุ.(ไทย) 25/10/183-187.

กรมศิลปากร. (2540). วัดหลวงสมัยรัตนโกสินทร์. กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร.

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.(2555). สังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

จุลทรรศน์ พยาฆรานนท์. (2551). ลักษณะไทย. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนพับลิชชิ่ง.

จารุวรรณ พึ่งเทียร. (2553). พุทธศิลป์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2547).วัฒนธรรมไทยภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ชยาภรณ์ สุขประเสริฐ. (2559). พุทธศิลป์ : ถิ่นไทย. วารสารพุทธอาเซียนศึกษา, 1(2), 59 – 74.

ชะลูด นิ่มเสมอ. (2532). การเข้าถึงศิลปะในจิตรกรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้ง กรุ้ฟ.

พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2540). ศิลปะศาสตร์เพื่อการศึกษาที่ยั่งยืน.กรุงเทพมหานคร : บ.ส่งสยาม จำกัด.

พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).(2540). พระพุทธศาสนาในอาเซียน. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา.

พระยาอนุมานราชธน (เสถียร โกเศศ). (2515). หนังสือศิลปะสงเคราะห์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์บรรณาคาร.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรม. กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน.

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

______________. (2545). พระผู้ทรงเป็นปราชญ์แห่งพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : บ.21 เซนจูรี่ จำกัด.

สงวน รอดบุญ. (2539). ศิลปกรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา.

__________. (2535). พุทธศิลป์ สารานุกรมศึกษาศาสตร์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 12 สิงหาคม 2535. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์วิสิทธิ์วัฒนา.

วรรณิภา ณ สงขลา. (2535). จิตรกรรมไทยประเพณี ชุดที่ 002 เล่มที่ 3 วัดชลธาราสิงเห. กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. (2517). ตำนานพุทธเจดีย์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์คลังวิทยา.

สมชาติ มณีโชติ. (2529). จิตรกรรมไทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.

สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2540). วัฒนธรรมวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

สุรศักดิ์ เจริญวงศ์. (2535). แนวคิดและวัตถุประสงค์ของจิตรกรรมไทย, เอกสารการสอนชุดศิลปะกับสังคมไทย หน่วยที่ 6-10. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุรศักดิ์ เจริญวงศ์. (2525). คู่มือพระปฐมโพธิกถา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.

สันติ เล็กสุขุม. (2535). จิตรกรรมไทย – แบบประเพณีและแบบสากล, เอกสารสอนชุดวิชากับสังคมไทย หน่วยที่ 1-5, พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ศิลป์ พีรศรี. (2525). ศิลปะสงเคราะห์. แปลโดย พระยาอนุมานราชธน. พิมพ์ครั้งที่ 2.

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ศูนย์การทหารราบ.

ศรีศักดิ์ วัลลิโภดม. (2517). แคว้นหริภุญชัย, ในศิลป์และโบราณคดีในประเทศไทย.กรุงเทพมหานคร : กรมศิลปากร.

หม่อมเจ้าสุภัทรดิส ดิสกุล. (2520). พุทธศิลป์ล้ำเลิศควรชู. กรุงเทพมหานคร : สำนักนายกรัฐมนตรี.

อนุวิทย์ เจริญศุภกุล. (2529). แนวการศึกษาและวิจัยสาขาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมในประเทศไทย, วารสารหน้าจั่ว, 6, 78 – 93.

อำนาจ เย็นสบาย. (2532). ศิลปะพิจารณ์. กรุงเทพมหานคร : แสงศิลปการพิมพ์.

อารี สุทธิพันธุ์. (2528). ศิลปะกับมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.

เว็บไซต์

สุวิญ รักสัตย์.(2556).บทบาทพระพุทธศาสนาในประเทศอาเซียน. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2560 จาก http://gs.mbu.ac.th/index.php/2013-08-14-04-11-51/2013-10-24-10-38-52/32- 2013-08-14-04-22-10

วิกิพีเดีย สารนุกรมเสรี (2558). ศาสนาพุทธแบบทิเบต. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2560 จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ศาสนาพุทธแบบทิเบต

พระไพศาล วิสาโล. (2553). ศิลปะกับพุทธศาสนา สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2563 จากhttps://www.visalo.org/article/2553


Refbacks

  • There are currently no refbacks.