บูรณาการหลักไตรสิกขาเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน Trisikkha Integration for the Development of Learner’s Characteristics

พระณัฐวุฒิ อคฺควฑฺฒโน

Abstract


ประเทศไทยได้ให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษา การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของคนไทยให้มีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศภายใต้แรงกดดันภายนอกจากกระแสโลกาภิวัตน์ และแรงกดดันภายในประเทศที่เป็นปัญหาวิกฤตที่ประเทศต้องเผชิญ เพื่อให้คนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดีสังคมไทยเป็นสังคมคุณธรรม จริยธรรม ในบทความนี้จึงสนใจนำเสนอแนวทางการบูรณาการหลักไตรสิกขาเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน ประกอบด้วย คุณลักษณะของผู้เรียนที่พึงประสงค์ในสังคมไทย หลักไตรสิกขาเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน และการจัดการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขาเพื่อพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน โดยการจัดการเรียนรู้แบบไตรสิกขา ได้แก่ 1) ขั้นศีล ให้นักเรียนมีวินัยและรักษาศีลห้า 2) ขั้นสมาธิ ให้นักเรียนมีสมาธิในการเรียน และ 3) ขั้นปัญญา ให้นักเรียนทำความเข้าใจบทเรียนในห้องเรียน


Keywords


หลักไตรสิกขา, คุณลักษณะของผู้เรียน, การจัดการเรียนรู้

Full Text:

PDF

References


กวี วงศ์พุฒ. (2539). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพมหานคร: บี. เค. อินเตอร์ปริ๊นส์.

ก่องแก้ว เจริญอักษร. (2537). ความรู้เรื่องธรรมวิทยา. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บรรเทา กิตติศักดิ. (2528). จริยธรรมทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

บุญมี แท่นแก้ว. (2539). จริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

ประภาพรรณ บอกสันเทียะ. (2560). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 1. ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

ปัญจา ชูช่วย. (2551). ปัจจัยเชิงสาหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาปริญญาตรีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

พรชัย ภาพันธ์ อ้างใน สมจันทร์ พรบุญ. (2548). พฤติกรรมของนักเรียนตามคุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 2. ครุศาสตรมหาบัณฑิต. (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

พรพรรณ สุทธนนท์. (2538). คุณลักษณะและวิธีการเข้าสู่ตำแหน่งของผู้บริหารโรงเรียนเทศบาลเมืองในเขตการศึกษา 12. การศึกษามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. (2562). แหล่งที่มา https://dictionary.orst.go.th/ [10 พฤศจิกายน 2562].

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 12กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2546). ทิศทางการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต), (2538). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระประนม ฐิตมโน (กุลภู). (2561). การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามหลักไตรสิกขาของโรงเรียนพระปริยติธรรม แผกสามัญศึกษาวัดประชานิยม จังหวัดกาฬสินธุ์. พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พิชาติ แก้วพวง. (2554). ผลของจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษาตามหลักไตรสิกขาที่มีต่อผลสัมฤทธิทางการเรียน ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการใช้ชีวิตแบบพอเพียง ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2. ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พุทธทาสภิกขุ. (2549). การศึกษาสมบูรณ์แบบ: คือวงกลมที่คุ้มครองโลกถึงที่สุด. กรุงเทพมหานคร: อุษาการพิมพ์.

มณิภา เรืองสินชัยวานิช. (2551). ปัจจัยเชิงสาหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ. การศึกษามหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

วศิน อินทสระ. (2528). ความหมายของไตรสิกขา. กรุงเทพมหานคร: มหามงกุฎราชวิทยาลัย.

วันเพ็ญ วรรณโกมล. (2544). การพัฒนาการสอนสังคมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สถาบันราชภัฎธนบุรี.

สุชาดา ไพอนนท์. (2560). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชากาษาญี่ปุ่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31. ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

สุมน อมรวิวัฒน์. (2528). พุทธวิธีสอนการสอนโดยสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ. กรุงเทพมหานคร: ตรีวันสาร.

สุวิทย์ มูลคํา และ อรทัย มูลคํา. (2545). วิธีจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.

แสงเดือน บุญแย้ม. (2560). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31. ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. (2563). สภาวะการศึกษาไทย 2561/2562 การปฏิรูปการศึกษาในยุคดิจิทัล. กรุงเทพมหานคร: บริษัทภาพการพิมพ์ จำกัด.

อินท์อร สาราโรจ. (2557). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. ครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.