สตรีนิยมในมิติเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ Feminism towards Buddhist Economics
Abstract
การแข่งขันกันบริโภคหรือบริโภคเพื่อหน้าตา หรือบริโภคด้วยการถูกชักนำด้วยสื่อกระแสหลัก ซึ่งได้ใช้ กลยุทธ์ทางการตลาด โดยพื้นฐานพุทธศาสนาไม่ได้ปฏิเสธความมั่งคั่ง (wealth) หรือระบุว่าความมั่งคั่งเป็นความชั่วร้ายในสองเหตุผลก็คือ หนึ่ง ความมั่งคั่งทางวัตถุสามารถป้องกันเราจากความลำบากและความยากจน และสองช่วยเหลือมนุษย์ในการพัฒนาความเมตตา-กรุณา ถือเป็นกุศลจิต และทำให้สังคมมีความสุขยิ่งๆ ขึ้นไป เพราะความสุขที่แท้จริง มิได้เกิดจากการบริโภควัตถุแต่อย่างใด หากแต่เกิดขึ้นจากสภาวะของจิตใจภายใน จากมุมมองของพุทธศาสนา คุณประโยชน์ของเศรษฐศาสตร์ และการพัฒนาเชิงวัตถุนั้น ก็เป็นเพียงแต่การนำเสนอปัจจัยในการดำรงชีวิต เพื่อที่จะอำนวยให้มนุษย์นั้นสามารถใช้เวลา และพลังงานในการลงมือปฏิบัติและพัฒนาทางจิตยิ่งๆ ขึ้นไป การพัฒนาและการถือกำเนิดของดัชนีที่เป็นความสุขแห่งชาติ (gross national happiness) (GNH) หรือดัชนีในลักษณะเดียวกัน ในอนาคตมีเพียงจะก่อคุณูปการเฉพาะในแง่มุมทางเศรษฐศาสตร์เท่านั้น แต่ดัชนีดังกล่าว อาจจะเป็นคำตอบของความหมายแห่งการมีชีวิตและความอยู่รอดของมนุษยชาตินั่นเลยทีเดียว
Nowadays, the world is full of people who are only thinking of themselves. Most of them continuously buy things even if they do not need it at all. Moreover, they also keep compete with others. All of this is because they are influenced by the marketing strategies and the commercial. Buddhism does not deny the wealth or say that it was the devil. The wealth can actually save people from hardship. It can also help people enhance their mind. People will help one another and make the society be the better place to live. From the view of Buddhism, the benefit of economics and materialism can fulfill only the physical needs. However, these things can let people spend their time in enhancing their mind. And the measurement tool, gross national happiness (GNH), is developed to show the meaning of life.
Full Text:
PDFRefbacks
- There are currently no refbacks.