การพัฒนาชุมชนด้วยหลักพรหมวิหาร 4 Community Development through Four Sublime States of Mind
Abstract
การพัฒนาชุมชนนั้นถือได้ว่ามีความสำคัญอย่างมากในปัจจุบัน เพราะชุมชนเป็นจุดชี้วัด ประชาชนในประเทศมีความเป็นอยู่อย่างไร ความเป็นอยู่ของประชาชนนั้นมีความเจริญก้าวหน้าเพียงใด เพราะชุมชนถือว่าเป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศ ดังนั้นหลักพุทธธรรมที่ใช้ในการวางกรอบบริหารบ้านเมือง องค์กรใดมีหลักธรรมในการบริหารด้วยหลักธรรมโดยผู้บริหารมีความปรารถนาให้ผู้อื่นมีความสุข ความสุขเกิดขึ้นได้ทั้งทางกายและทางใจ เช่นการยึดหลักพรหมวิหาร 4 ซึ่งเป็นหลักธรรมของผู้ปกครองหรือผู้นำ ในการบริหารชุมชน ให้มีประสิทธิภาพ ประชาชนมีความเป็นอยู่อย่างมีความสุข โดยผู้นำจะต้องประกอบไปด้วย 1. เมตตา มีความต้องการให้ผู้อื่นหรือสมาชิกในชุมชนมีความสุขปราศจากอันตรายต่างๆ 2. กรุณา ปรารถนาให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ ช่วยเหลือชาวบ้านที่ได้รับความเดือดร้อนอย่างต่อเนื่อง 3. มุทิตา ความยินดี ให้ผู้อื่นมีความสุขความเจริญก้าวหน้า 4. อุเบกขา การวางใจเป็นกลาง มีจิตใจที่เมตตาและกรุณาต่อบุคลากรภายในชุมชนให้มีความเจริญเติบโต สามารถอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยหลักธรรมพรหมวิหาร 4
Nowadays, developing community is very essential because it can measure standard of living. In addition, community is one of the core units in developing country. The government must have the principle in administration. Any government that anticipates the better life for its people can also create better community. When the community’s leaders have Four Sublime States of Mind, they can bring happiness to people. The Four Sublime States of Mind include loving-kindness (metta), compassion (karuna), sympathetic joy (mudita), and equanimity (upekkha). Loving-kindness is an aspiration for one's well-being. Compassion is the wish for others’ happiness. Sympathetic joy is the wish for others’ better life. And equanimity is an unshakable balance of mind.
Full Text:
PDFRefbacks
- There are currently no refbacks.