การบริหารอารมณ์ของผู้สูงอายุตามหลักพระพุทธศาสนา

รังสิยา นารินทร์, พระมหา อินทร์วงค์ อิสฺสรภาณี

Abstract


บทคัดย่อ

            บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดการบริหารอารมณ์ของผู้สูงอายุตามหลักพระพุทธศาสนา เพื่อรองรับสังคมของผู้สูงอายุในสังคมไทย ความเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านกายภาพที่เข้าสู่ภาวะพึ่งพิงและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วทำให้ผู้สูงอายุมีภาวะทางอารมณ์ที่ยากต่อการคาดเดา จิตใจมีการแปรปรวนผู้สูงอายุที่ไม่สามารถปรับตัวกับอารมณ์ที่มากระทบอาจทำให้เกิดอารมณ์หงุดหงิด เศร้าซึม เกิดความรู้สึกไปในทางโลภโกรธและหลง ซึ่งถือเป็นอารมณ์ที่ชั่วร้ายเป็นบ่อเกิดของความทุกข์ที่อาจส่งผลไปถึงร่างกายได้ในที่สุด การบริหารอารมณ์ตามหลักภาวนา คือ กายภาวนา ศีลภาวนา จิตภาวนา และปัญญาภาวนา เป็นการบริหารอารมณ์ตามหลักพระพุทธศาสนา โดยมีวิธีปฏิบัติคือ “มองให้เห็นธรรมชาติ สามารถอยู่อย่างพรหม ฝึกลมหายใจอย่างฉลาด และไม่ประมาทในชีวิต” จะช่วยให้ผู้สูงอายุสามารถบริหารอารมณ์ได้อย่างถูกต้อง และสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข

 คำสำคัญ: ผู้สูงอายุ การบริหารอารมณ์ พระพุทธศาสนา

 

ABSTRACT

This article aims to present the concept of emotional management of the elderly in accordance with Buddhism to support the society of the elderly in Thai society. The change of the physical as well as the dependence and the rapid social change make the older have a difficult emotional state to guess, the mind is warping. Elderly people who cannot adapt to the emotions that affect can cause emotional irritability, sadness. Feelings go in greed, anger and delusion which are an evil mood. It is the source of suffering that can affect the body. The 4 Emotional Managements of Buddhism are: physical development, moral development, emotional development and intellectual development. Follow by the 4 methods are: natural seeing, Bhrommavihara living, intelligent breathe and precaution life, help the elderly manage their emotions correctly and happiness in life.

 Keywords: elderly, emotional management, Buddhism


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.