แนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐกลุ่มภาคเหนือตอนบน

สุทธิพร สายทอง

Abstract


บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการวิจัยของอาจารย์ในกำของรัฐ กลุ่มภาคเหนือตอนบน มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปเกี่ยวกับสมรรถนะด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ กลุ่มภาคเหนือตอนบน2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัย  ในกำกับของรัฐ กลุ่มภาคเหนือตอนบนการดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ศึกษาสภาพทั่วไปของสมรรถนะด้านการวิจัยของอาจารย์  2.ศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะการวิจัยของอาจารย์ โดยขั้นตอนแรกใช้การสำรวจข้อมูลด้วยแบบสอบถามสภาพทั่วไปของสมรรถนะด้านการวิจัยของอาจารย์,ผู้บริหารวิชาการ,อาจารย์ผู้อำนวยการศูนย์ฯ และผู้เชี่ยวชาญด้านการวิจัย มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ กลุ่มภาคเหนือตอนบน 

ผลการวิจัยพบว่า

สภาพทั่วไปของมรรถนะด้านการวิจัยของอาจารย์  ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( =4.20,S.D.=0.04) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสืบค้นข้อมูลสนเทศโดยใช้คอมพิวเตอร์หรืออินเตอร์เน็ต( =4.35,S.D.=0.67) รองลงมาอาจารย์มีรู้เกี่ยวกับการเขียนรายงานการวิจัยคือ( =4.35,S.D.=0.67) 

สมรรถนะการวิจัยด้านทัศนคติของอาจารย์ พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับ ( =2.98,S.D.= 0.17) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า การทำวิจัยช่วยพัฒนาความรู้ความสามารถของตัว ท่านอย่างเต็มที่ ( =4.26,S.D.=0.76) รองลงมาผู้ตอบแบบสอบถามมีความเข้าใจในการทำวิจัยว่า มีความสำคัญอย่างมากเห็นสมควรที่คณาจารย์ทุกท่านต้องทำวิจัย อยู่ในระดับมาก ( =4.21,S.D.= 0.87)

สมรรถนะการวิจัยด้านความรู้ของอาจารย์ พบว่าด้านแรงจูงใจ  โดยภาพรวมอยู่ในระดับ ( =4.02,S.D.=0.14) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าหน่วยงานมีการประกาศเป็นนโยบายให้อาจารย์ทำวิจัย และแนะนำไปสู่การปฏิบัติ อยู่ในระดับ ( =4.26,S.D.=0.71) และรองลงมาพบว่าหน่วยงานมีการประชาสัมพันธ์เรื่องการขอทุนวิจัยในแต่ละปีให้ทั่วถึง มีการจัดสรรเงินทุนให้อาจารย์เพื่อทำงานวิจัย อยู่ในระดับ ( =4.26,S.D.=0.71)

แนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการวิจัยเพื่อสร้างความรู้แก่อาจารย์ พบว่า มหาวิทยาลัยที่ได้รับการยอมรับว่ามีคุณภาพสูงส่วนหนึ่งเป็นเพราะการบริหารจัดการวิจัยที่มีคุณภาพ ควรจัดให้มีกลไกลของระบบช่วยเหลือ จากระบบพี่เลี้ยง หรือระบบที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ แนวทางการพัฒนาสมรรถนะการวิจัยเพื่อสร้างทัศนะคติแก่อาจารย์ พบว่า ควรสร้างความตระหนักรู้แก่การทำวิจัยของอาจารย์  ควรสร้างค่านิยมในการทำวิจัยแก่อาจารย์ อาจารย์มหาวิทยาลัย จะต้องมุ่งวิจัยอย่างมีทิศทางและและต้องทุ่มเทเอาใจใส่ในแนวทางการวิจัยนั้นอย่างจริงจัง แนวทางการพัฒนาสมรรถนะด้านการวิจัยเพื่อสร้างแรงจูงใจแก่อาจารย์ พบว่าปัจจัยสาเหตุความต้องการจำเป็นสมรรถนะด้านการวิจัยสำหรับอาจารย์ สิ่งสำคัญอันดับแรกคือการกำหนดแนวทางการพัฒนางานวิจัย คือการศึกษากรอบแนวคิด นโยบาย วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ของประเทศและทิศทางการสนับสนุนงานวิจัยของหน่วยงานให้ชัดเจน

 คำสำคัญ:สมรรถนะการวิจัย ,การพัฒนา,มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ,

 

ABSTRACT

          This research is a study of the competency development guidelines research of university instructor in upper northern with the objectives: 1) To study general conditions regarding research competencies of the university instructors in upper northern Group. 2) To study the guidelines for the development of research competencies of the university instructors in upper northern Group. The research process is divided into 2 steps: Namely: 1) Study the general condition of the research competencies of the lecturers 2.)Study guidelines for the development of research competencies of the lecturers.The first step use the survey data with the general condition questionnaire of the research competencies lecturers, academic administrators, lecturers director of the Center, and research experts of university instructors in upper northern Group. The general condition of the research competencies of professors

             The results of this research found that

                General conditions of the research competencies of professors in overall picture at high level ( = 4.20, S.D. = 0.04) when considering each item, it was found that the respondents with knowledge and understanding about the searching information using computer or internet information ( = 4.35, S.D. = 0.67), subordinates the lecturers have knowledge about writing research reports, ie ( = 4.35, S.D. = 0.67).

             The competency of research on attitude of the lecturers found that the overall picture at the level ( = 2.98, S.D. = 0.17),doing research helps develop, your knowledge and abilities fully ( = 4.26, S.D. = 0.76). 

          Research competencies in knowledge of the lecturersfound that the motivation the overall picture is at the level ( = 4.02, S.D.= 0.14),when considering each item, it is found that, the institution has announced policy for the lecturers to do research, and recommend to the operation at the level ( = 4.26, S.D. = 0.71)          

             The study results of guidelines for the development of research competencies of public instructorsGuidelines for the development of research competencies to create knowledge for the lecturers. Universities that are recognized as being of high quality, partly because of quality research management should provide mechanism of help system. From the mentor or consultant system instructive for advice, promote and support the lecturers to receive research practice from experts in various fields that are both internal and external. 

             Guidelines for the development of research competencies in order to create attitudes towards lecturers found that they should create the awareness of lecturers’ research, should create values for lecturers’ research to University professor must focus on research in direction and must seriously pay attention to that research methodology which direction of research Guidelines for development of research competencies to motivate the lecturers found that the factors causes, needs, research competencies for the lecturers ,the first priority is to determine guidelines for research developmentthen study the conceptual framework, policy, vision, strategy of the country and the clearly direction of research support of the agency. The institution must have strategic plan for lecturers’ development to be a guideline for academic development, supporting lecturers to access funding sources and the competencies to motivate the lecturers is considered the most important that is associated with achievement and work efficiency, because the motivation will change the behavior of person the national strategies and directions for supporting research  .

 Keywords:  Research competency, Development, autonomous university

 


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.