นวัตกรรมและการรับรู้ : พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

Aumthip Srithong

Abstract


        The objectives of this research aim i) to study innovation of food consumption behaviors of students studying in Thepsatri Rajabhat University, ii) to study perception of food consumption behaviors of students studying in Thepsatri Rajabhat University, and to compare innovation of food consumption behaviors of students studying in Thepsatri Rajabhat University classifed by personal factors. The population of this research consisted of 124 students who have registered in “World Current Affaires” subject being taught by Researcher in academic year 2/2016. The data-gathering instrument was questionnaire. The statistics for data analysis were percentage, mean, and standard deviation, t-test and ANOVA. The research fndings were as follows.
         1. The health practices in food consumption have been found that most of respondents do not take three meals per day especially breakfast. Dinner is taken by majority of them. When there is group food consumption, sometimes they need spare spoon. The most food taste is sweet one.
         2. The perception of food consumption behavior have been found that 71.8 percent of respondents perceived that grilled food is conducive to the risk of cancer, 69.4 percent of them noted that so sweet food is vulnerable for diabetes, 68.5 percent of students have on confdence that snacks like French fries, cornflake, popcorn have caused high fat and salty in body, 21 percent of them do not believe that grilled food is conducive to the risk of cancer and the same percent noticed that repeated frying oil food is vulnerable to cancer.
         3. For innovation of food consumption behaviors, it found that in aspect of “how to eat” perception, the overall food consumption was rated at fair level. The suitable food is hygienic / clean and without flies swarming around it (X=2.86), whereas the unsuitable one Is fermented food such as pickled bamboo shoots and fruits (X=1.92).

         For “how to use” perception, it is also found in fair level in which suitable food consumption behavior is that in each day, students have to spend money for having food, travelling, book purchase (X=3.19), whereas unsuitable one is that they would like to buy pickled or dried fruits such as mango, star gooseberry and guava (X=1.93).
         For value perception, it is also found at fair level in which suitable food consumption behavior is to choose only unpolished or half milled rice (X=3.31), whereas unsuitable one is to take salted food such as salted meat, pork and fsh (X=2.03).
         For cognizant perception, it is found at fair level too in which suitable food consumption is that in choosing processed foods such as canned food, canned milk, TFD symbol has to be considered (X=2.92), whereas unsuitable one is to take undercooked food like fermented meat and pork, pickled crab, fish and vegetables (X=1.98).

บทคัดย่อ
         การวิจัยครั้งนี้มีความวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมความมีนวัตกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี 2. เพื่อศึกษาการรับรู้การบริโภคอาหารและพฤติกรรมความมีนวัตกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษา 3. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมความมีนวัตกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาจำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ชั้นปีที่ 1 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาสถานการณ์โลกปัจจุบัน ภาคเรียนที่ 2 /2559 จำนวน 124 คน ซึ่งดำเนินการสอนโดยผู้วิจัยเครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า t-test และค่า ANOVA ผลกำรวิจัยพบว่ำ
          1. สุขปฏิบัติในการบริโภคอาหาร พบว่า นักศึกษากลุ่มตัวอย่างทานอาหารไม่ครบทุกมื้อ มื้อที่ไม่ได้ทานคือ มื้อเช้า มื้ออาหารที่รับประทานมากที่สุด คือ มื้อเย็น เมื่อต้องทานอาหารร่วมกับบุคคลอื่นจะใช้ช้อนกลางบ้าง บางครั้ง รสชาติที่ชอบรับประทานมากที่สุดคือ รสหวาน
          2. การรับรู้ การบริโภคอาหาร พบว่า นักศึกษามีการรับรู้ว่า การกินอาหารประเภทปิ้งย่างที่ไหม้เกรียมทำให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง คิดเป็นร้อยละ 71.8 รองลงมารับรู้ว่า การกินอาหารที่มีรสหวานจัด ทำให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานคิดเป็นร้อยละ 69.4 ส่วนการรับรู้การบริโภคอาหารที่นักศึกษาไม่ค่อยมั่นใจ คือ กินขนมกรุบ ๆ กรอบ ๆ เช่น มันฝรั่งทอด ข้าวเกรียบ ข้าวโพดอบกรอบเป็นประจำจะทำให้ร่างกายได้รับไขมันและเกลือสูงได้ คิดเป็นร้อยละ 68.5 และนักศึกษาที่ไม่เชื่อว่า การกินอาหารประเภทปิ้งย่างที่ไหม้เกรียม ทำให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง คิดเป็นร้อยละ 21.0 ซึ่งมีจำนวนเท่ากันกับการกินอาหารที่ทอดด้วยน้ำมันทอดซ้ำ อาจทำให้เกิดโรคมะเร็งได้
          3. พฤติกรรมความมีนวัตกรรมการบริโภคอาหาร ด้านรู้กิน พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมคือ เลือกกินอาหารที่สะอาดและปราศจากแมลงวันตอม ( X=2.86) และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม คือ ทานอาหารหมักดอง เช่น หน่อไม้ดอง ผลไม้ดอง (X=1.92)
ด้านรู้ใช้ พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมคือ ในแต่ละวันนักศึกษามีค่าใช้จ่าย เช่น ค่ากิน ค่าเดินทาง, ค่าหนังสือ (X=3.19)และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม คือ ชอบซื้อผลไม้แช่อิ่มหรือผลไม้แห้งเช่น มะม่วง มะยม แช่อิ่ม ฝรั่งดอง (X=1.93)
ด้านรู้คุณค่า พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมคือ จะเลือกทานเฉพาะข้าวกล้อง , ข้าวซ้อมมือเท่านั้น (X=3.31) และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม คือ ทานอาหารที่มีรสชาติเค็ม เช่น เนื้อเค็ม หมูเค็ม ปลาเค็ม (X=2.03)
ด้านรู้เท่าทัน พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสมคือ ในการเลือกซื้ออาหารแปรรูป เช่น อาหารกระป๋อง นมกระป๋อง จะดูเครื่องหมาย อย. (X=2.92) และพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม คือ ทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เช่น แหนม ปูดอง ปลาร้า ส้มฟัก (X=1.98)


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


หลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการพัฒนาสัคม
ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
คณะสังคมศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 

โซน B ชั้น M อาคารเรียนรวม เลขที่ 79 หมู่ที่ 1 ถนนพหลโยธิน 
ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170 
โทรศัพท์  +66(0) 3524 8000 ต่อ 8278
โท
รสาร   +66(0) 3524 8000 ต่อ 8279
มือถือ     +66(0) 8 1268 1128

http://www.journal-socdev.mcu.ac.th/
jsocdev@gmail.com