การดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา Living on According to Sufficiency Economy Philosophy of Phayom Community, Wangnoi District, Phra Nakon Si Ayutthaya Province

Phra Ruong Thach

Abstract


วัตถุประสงค์การทำวิจัยครั้งนี้ มีดังตอไปนี้คือ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนตำบลพยอม อำเภอ วังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 3) เพื่อทราบปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำ  เนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชากรอยู่ในตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตามตารางสูตรของ ทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 389 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ 0.05 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percent) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การทดสอบค่าที (t–test) เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองกลุ่ม และการทดสอบค่าเอฟ (F-test) ด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One–Way ANOVA) การเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญที่น้อยที่สุด (Least Significant Difference: LSD) และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า1. การศึกษาการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางค่าเฉลี่ย (X ̅  = 3.15) เมื่อพิจารณารายด้าน การดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ตำบลพยอม อำเภอ วังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เงื่อนไขด้านความรู้ มากที่สุดค่าเฉลี่ย (X ̅  = 3.32) รองลงมาคือด้านความมีเหตุผล (X ̅  = 3.26) ด้านการมีภูมิคุ้มกัน (X ̅  = 3.08) เงื่อนไขด้านคุณธรรม (X ̅  = 3.06) และด้านความพอประมาณ (X ̅  = 3.05) ตามลำดับ2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชากรต่อการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  โดยจำแนกตามสถานภาพส่วนบุคคล สรุปได้ว่า ประชากรที่มีเพศ อายุและอาชีพที่ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยรวมไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐาน การวิจัยส่วนประชากรที่มี ระดับการศึกษาแตกต่างกัน และที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยรวมแตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้วัตถุประสงค์การทำวิจัยครั้งนี้ มีดังตอไปนี้คือ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนตำบลพยอม อำเภอ วังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 3) เพื่อทราบปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำ  เนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชากรอยู่ในตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตามตารางสูตรของ ทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 389 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ 0.05 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percent) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การทดสอบค่าที (t–test) เพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองกลุ่ม และการทดสอบค่าเอฟ (F-test) ด้วยวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One–Way ANOVA) การเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญที่น้อยที่สุด (Least Significant Difference: LSD) และการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยพบว่า1. การศึกษาการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางค่าเฉลี่ย (X ̅  = 3.15) เมื่อพิจารณารายด้าน การดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน ตำบลพยอม อำเภอ วังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เงื่อนไขด้านความรู้ มากที่สุดค่าเฉลี่ย (X ̅  = 3.32) รองลงมาคือด้านความมีเหตุผล (X ̅  = 3.26) ด้านการมีภูมิคุ้มกัน (X ̅  = 3.08) เงื่อนไขด้านคุณธรรม (X ̅  = 3.06) และด้านความพอประมาณ (X ̅  = 3.05) ตามลำดับ

2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชากรต่อการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา  โดยจำแนกตามสถานภาพส่วนบุคคล สรุปได้ว่า ประชากรที่มีเพศ อายุและอาชีพที่ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยรวมไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐาน การวิจัยส่วนประชากรที่มี ระดับการศึกษาแตกต่างกัน และที่มีรายได้ต่อเดือนแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนตำบลพยอม อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยรวมแตกต่างกัน จึงยอมรับสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


หลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการพัฒนาสัคม
ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
คณะสังคมศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 

โซน B ชั้น M อาคารเรียนรวม เลขที่ 79 หมู่ที่ 1 ถนนพหลโยธิน 
ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170 
โทรศัพท์  +66(0) 3524 8000 ต่อ 8278
โท
รสาร   +66(0) 3524 8000 ต่อ 8279
มือถือ     +66(0) 8 1268 1128

http://www.journal-socdev.mcu.ac.th/
jsocdev@gmail.com