พุทธิปัญญากับการบริโภคนิยมของสังคมไทยในกระแสโลกาภิวัตน

กีรติ กมลประเทืองกร

Abstract


การบริโภคเป็นสิ่งจำเป็นและเป็นธรรมชาติของมนุษย์ จากปัจจัยสำคัญ 4 ประการ ได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค และที่อยู่อาศัย วิถีของการดำเนินชีวิต ของพุทธศาสนิกชนที่ยึดมั่นในศาสนาจะต้องปฏิบัติตามหลักคำสอนในศาสนา เพราะเชื่อ ว่าทำให้เกิดความสุขทางจิตใจจากการทำความดี ไม่ได้อยู่ที่การแสวงหาทรัพย์สมบัติหรือ บริโภคให้มาก แต่เมื่อสังคมได้รับอิทธิพลจากระบบทุนนิยมและการตลาดจากกระแสโลกา ภิวัตน์ในด้านต่างๆ ทำให้วิถีชีวิตคนเปลี่ยนไป มีความต้องการในด้านต่างๆ เพิ่มมากขึ้น จึง กลายมาเป็นสังคมบริโภคนิยม เมื่อเกิดสังคมบริโภคนิยมเป็นเวลานานจึงเกิดปัญหาตามมา อีกเป็นอย่างมาก ทั้งปัญหาทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ และด้านสิ่งแวดล้อม รัฐบาลจะต้อง แก้ปัญหาด้วยการให้ดำเนินชีวิตตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงและหลักพุทธศาสนา ที่ สอนให้มีความพอดี เพียงพอ รู้จักใช้จ่าย และเก็บออม รวมถึงการฝึกฝนจิตใจให้เข้มแข็งเพื่อ ไม่ให้ตกเป็นทาสของบริโภคนิยม

Keywords


พุทธิปัญญา, การบริโภคนิยม, กระแสโลกาภิวัตน

Full Text:

PDF

References


จุลชีพ ชินวรรโณ. (2542). รอยต่อระหว่างศตวรรษกระแสโลกกับการเปลี่ยนแปลง

สภาพแวดล้อมระหว่างประเทศ. รัฐศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่

หน้า 77.

พุทธทาสภิกขุ. (2531). สันติภาพของโลก. สุราษฎร์ธานี : ธรรมทานมูลนิธิ.

__________. (2538). ธัมมิกสังคมนิยม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สยามประเทศ.

พนิดา อังจันทรเพ็ญ. (2548). พุทธศาสนากับโลกธุรกิจ : การใช้หลักพุทธธรรมในการ

ทำธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่4. กรุงเทพฯ: พระพุทธศาสนาของธรรมสภา.

พระธรรมปิฏก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2540). ไอทีภายใต้วัฒนธรรมแห่งปัญญา.

พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.

พระมหานครินทร์ แก้วโชติรุ่ง. (2548). สันติภาพตามแนวคิดของท่านพุทธทาสภิกขุ :

ความหมายและการประยุกต์ใช้ในโลกปัจจุบัน. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2554). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวล

ศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ: พระพุทธศาสนาของธรรมสภา.

พระไพศาล วิสาโล. (2543). พุทธศาสนากับทางเลือกในยุคบริโภคนิยม.

เสขิยธรรม. ปีที่ 10 ฉบับที่ 46 หน้า 20.

ฟริตจ๊อฟ คาปร้า. (2539). จุดเปลี่ยนแห่งคริสต์ศตวรรษ เล่ม 1. (พระประชา ปสนฺน

ธมฺโม และคณะ) พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาบาลี. ฉบับมหาจุฬาเตปิฎก

กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

______________________. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย. ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหามกุฎราชวิทยาลัย. (2534). พระไตรปิฎกภาษาไทย พร้อมอรรถกถาแปล ชุด

เล่ม. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2550). ไทยกับสังคมโลก หน่วยที่ 1 - 7.พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

__________________________. (2550). ไทยกับสังคมโลก หน่วยที่ 8 - 15. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์พับลิเคชั่น.

อานันท์ กาญจนพันธุ์. (2544). โลกาภิวัตน์กับวัฒนธรรมไทยในท้องถิ่นพัฒนากับโลกา

ภิวัตน์ วิกฤตโลก วิกฤตไทย อะไรคือทางรอด. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

Kriengsak, Chareonwongsak. (2003). Insights into Thailand’s Post – Crisis Economy. Bangkok: Success Media.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.