พระพุทธศาสนาเถรวาทในกัมพูชา: สมัยหลังพระนคร Theravada Buddhism in Cambodia: Post-Angkor Period
Abstract
บทความวิชาการเรื่อง พระพุทธศาสนาเถรวาทในกัมพูชา: สมัยหลังพระนคร เป็นบทความที่ศึกษาถึงประวัติและพัฒนาการของพระพุทธศาสนาเถรวาทในสมัยหลังพระนคร ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เขียนเป็นความเรียงในแบบบทความวิชาการ ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการเสื่อมไปของอาณาจักรมหานคร ที่แต่เดิมนับถือพระพุทธศาสนามหายาน พระพุทธศาสนาเถรวาทได้เข้ามาแทนที่เจริญเติบโตเป็นนิกายหลัก โดยมีหลักฐานว่าตามลินทะผู้เป็นราชโอรสของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เป็นบุคคลสำคัญที่นำพระพุทธศาสนาเถรวาทจากลังกาเข้าสู่กัมพูชา รวมทั้งจารึกอักษรบาลีที่วัดโคกสวายเจก เป็นหลักฐานหนึ่งที่ยืนยันถึงพัฒนาการของพระพุทธศาสนาเถรวาทและเข้ามาเป็นศาสนาหลักในกัมพูชานับภายหลังอาณาจักรนครธม จนกระทั่งปัจจุบัน
Keywords
Full Text:
PDFReferences
กรมศิลปากร. (2526). จารึกสมัยสุโขทัย. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
จิโต มาดแลน. (2543). ประวัติเมืองพระนครของขอม. แปลโดย หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.
เฉลิม ยงบุญเกิด.(2557). บันทึกว่าด้วยขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจินละ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.
เดวิด แชนด์เลอร์. (2546). ประวัติศาสตร์กัมพูชา. แปลโดย พรรณงาม เง่าธรรมสาร บรรณาธิการ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ ฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์.
นิพัทธ์ แย้มเดช. (2558). จากต้นแบบธรรมิกราชาของพระเจ้าอโศกมหาราชสู่บทบาทพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 พระราชาผู้บรรเทาทุกข์ของทวยราษฎร์ : ภาพสะท้อนจากจารึกประจำอโรคยศาล. วารสารดำรง วิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 14 (1), 169-204.
พระมหากวีศักดิ์ ญาณกวิ และทรงธรรม ปาณสกุณ. (2562). จารึกโคกสวายเจก: จารึกภาษาบาลีในอาณาจักรเขมรโบราณ. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. 5 (1), 51-67.
พระระพิน พุทธิสาโร. (2545).การศึกษาสถานภาพพระสงฆ์ภายใต้ระบบเขมรแดง ระหว่าง 1975-1979 (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พระปลัดระพิน พุทธิสาโร. (2559). ธรรมยุติกนิกายในกัมพูชา : ความสัมพันธ์ทางการเมืองและศาสนาของไทยและกัมพูชา.วารสารพุทธอาเซียน. 1 (2), 23-42.
พระรัตนปัญญาเถระ. (2550). ชินกาลมาลีปกรณ์. แปลโดย ร.ต.ท.แสง มนวิทูร.
กรุงเทพ ฯ : รำไทย เพรส จำกัด.
พระมหาวิชชาธรรม (เรือง เปรียญ). (ม.ป.ป). รามัญสมณะวงศ์. นนทบุรี : สำนักพิมพ์ศรีปัญญา.
พิพัฒน์ กระแจะจันทร์. (2559). ยุคมืด หรือช่องว่างในประวัติศาสตร์สยาม a dark age of pap in Siamese history”. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์มติชน.
มาร์ติน สจ๊วต-ฟอกซ์. (2558). ประวัติศาสตร์ลาว : A History of Laos. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ ฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ไมเคิล ไรท์. (2559). ยุคมืด หรือช่องว่างในประวัติศาสตร์สยาม a dark age of pap in Siamese history”, ใน ยุคมืดของประวัติศาสตร์ไทย หลังบายน พุทธเถรวาท การเข้ามาของคนไทย, รวบรวมโดย พิพัฒน์ กระแจะจันทร์. กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์มติชน.
ยอร์ช เซเดส์. (2556). เมืองพระนคร นครวัต นครธม. แปลโดย ปราณี วงษ์เทศ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์.
รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง และศานติ ภักดีคำ.(2561). ศิลปะเขมร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน.
สุภัทรดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า. (2560). ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ ถึง พ.ศ.2000. พิมพ์ครั้งที่ 6.กรุงเทพ ฯ : สมาคมประวัติศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี.
สุภัทรดิศ ดิศกุล,หม่อมเจ้า. (2532). “600 ปี แห่งพระประวัติเมืองพระนครของขอม”,
นิตยสารศิลปวัฒนธรรม. 10 (6), 125.
อุไรศรี วรศะริน.(2542). จารึกนครวัดสมัยหลังพระนคร ค.ศ. 1566-ค.ศ. 1747.
กรุงเทพฯ : จงเจริญการพิมพ์.
Bapat, P.V.; Takasaki, J.N. (1959), "Progress of Buddhist Studies in Ceylon, Burma, Thailand, Cambodia, Laos, Vietnam, China and Japan", in Bapat, V.P. (ed.), 2500 Years of Buddhism, Delhi: Ministry of Information and Broadcasting, Government of India.
Chau Séng (ed.). (1961). Organisation buddhique au Cambodge. Phnom
Penh : Université Buddhique Preah Sihanouk Raj.
David Chandler. (2008). A History of Cambodia. 4th Edition. Bangkok: Silkworm Books.
Deegalle, Mahinda (ed.) .(2006). Buddhism, Conflict and Violence in Modern Sri Lanka. London: Routledge.
Hall, D.G.E. (1960). Burma (3rd ed.). London: Hutchinson University Library.
Harris, Ian. (2005). Cambodian Buddhism. Hawai'i : University of Hawai'i Press
________. (2001), "Sangha Groupings in Cambodia", Buddhist Studies Review, UK Association for Buddhist Studies, 18 (I): 73–106
Kent Davis. (2008). Angkor the Magnificent: Wonder City of Ancient Cambodia. retrieved March, 2020. From
https://www.academia.edu/380060/Angkor_the_Magnificent_Wonder_City_of_Ancient_Cambodia
Marston, John Amos; Guthrie, Elizabeth (2004). History, Buddhism, and New Religious Movements in Cambodia. Hawaii : University of Hawaii Press.
Prashanthi Narangoda. (2018). Emergence of Buddha Image in Cabmodia and Impact of Srilanka. retrieved March, 2020. From
https://www.researchgate.net/publication/327833774_Emergence_of_Buddha_Image_in_Cambodia_and_impact_of_Sri_Lanka
Polkinghorne, M. (2018). Reconfiguring Kingdoms: The end of Angkor and the emergence of Early Modern period Cambodia. In Theresa McCullough, Stephen A. Murphy, Pierre Baptiste, Thierry Zéphir, ed. Angkor. Exploring Cambodia's Sacred City. Singapore: Asian Civilisations Museum.
Rawson, Philip (1990), The Art of Southeast Asia: Cambodia Vietnam Thailand Laos Burma Java Bali. London: Thames & Hudson
Sirisena. W.M., (1978). Sri Lanka and South East Asia: Political, Religious and Cultural Relations from A.D. C.1000 to C.1500. Leiden, E.J. Brill. Cambridge: Cambridge University Press.
Samsopheap Preap, (2005). A Comparative study of Thailand and Khmer Buddhism (Master’s Thesis). Bangkok: Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Thomas Mark Shelby. (1998). The Bayon of Angkor Thom: An Architectural Model of Buddhist Cosmology. Alabama: The University of Alabama.
Vannak Lim. (2017). A Study of the Influence of Mahayana Buddhism Over the King Jayavarman VII (Master’s Thesis). Phra Nakorn Si Ayutthya : Graduate School of Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Wyatt, David. (2003). Thailand: A Short History. New Haven: Yale University Press
Zhou Daguan. (2007). A Record of Cambodia: The Landand Its People. Peter Harris, translator. Chiang Mai: Silkworm Books.
Refbacks
- There are currently no refbacks.