ความสัมพันธ์ไทย กัมพูชา : ในมิติของพระพุทธศาสนาและการศึกษาสงฆ์ Thai-Cambodian Relations: Roles of Mahachulalongkornrajavidyalaya University with promoting and development of Buddhist heirs

พระปลัดระพิน พุทฺธิสาโร, ดิเรก ด้วงลอย, มัลลิกา ภูมะธน

Abstract


บทคัดย่อ

          บทความนี้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ไทย กัมพูชา ในมิติของพระพุทธศาสนาและการศึกษาสงฆ์ ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย การสังเกตเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ เขียนเป็นความเรียงในรูปแบบบทความวิชาการ

          ผลการศึกษาพบว่า ไทย กัมพูชา มีความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนามาอย่างยาวนานผ่านลักษณะร่วมทางวัฒนธรรม การเมือง สังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ศาสนา เมื่อเฉพาะไปที่ศาสนาการข้ามแดนทางวัฒนธรรมได้กลายเป็นจุดเชื่อมที่สำคัญทำให้ศาสนาของอารยธรรมเขมรทั้งพราหมณ์ฮินดู พุทธมหายาน และเถรวาท รวมทั้งในปัจจุบันมหาวิทยาลัยสงฆ์ได้กลายเป็นจุดเชื่อมของพระพุทธศาสนากัมพูชาไทยในระดับองค์กร บุคคล และการเติมเต็มสนับสนุนการศึกษาพัฒนาทรัพยากรมนษย์ทางศาสนาดังปรากฏเป็นข้อมูลสถิติในปัจจุบัน

คำสำคัญ: ความสัมพันธ์ไทย-กัมพูชา,พระพุทธศาสนา,การศึกษาสงฆ์

 

Abstract

This article examines the relationship between Thailand and Cambodia in terms of Buddhism and Sangha education. Using study methods from papers, research, observations, collecting spatial data. Write as an essay in the form of an academic article.

The results of the study revealed that Thailand and Cambodia have long had a relationship with Buddhism through cultural, political, social, economic and cultural integration. religion, especially when it comes to religion, cultural crossing has become an important link, making the religion of both Khmer civilizations. Hindu Brahmins, Mahayana Buddhists and Theravada Monastic Universities have become the connecting point of Thai-Cambodian Buddhism at the organizational, individual level and support for education and development of religious human resources as shown in current statistics.

Keywords : Thai-Cambodian relations, Buddhism, Sangha Education


Full Text:

PDF

References


เอกสารอ้างอิง

กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ. (2562). สถิติการค้าชายแดนและการค้าผ่าน

แดนของประเทศไทย ปี 2560-2562 (มกราคม-มิถุนายน).สืบค้นเมื่อ 12 ธันวาคม 2563,จาก

https://www.dft.go.th

กรินทร์ กรินทสุทธิ์. (2558). ปัจจัยต่อการเปลี่ยนแปลง พัฒนาการ และความหลากหลายของโขน (ทศวรรษที่

ถึงปัจจุบัน) ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สหวิทยาการ). กรุงเทพฯ: วิทยาลัยสหวิทยาการ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กลุ่มงานพัฒนาระบบควบคุมการทำงานของคนต่างด้าว. (2563). สถิติจำนวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงาน

คงเหลือ ทั่วราชอาณาจักร ประจำเดือน มีนาคม 2563. กรุงเทพ ฯ: กลุ่มงานพัฒนาระบบควบคุมการ

ทำงานของคนต่างด้าว สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว,กรมแรงงาน.

ขรพรรษ สุรนาถ และคณะ. (2561). ปราสาทเขาพระวิหาร : ความทรงจำร่วมของผู้คนบนแนวตะเข็บชายแดน

ไทย–กัมพูชาระหว่าง พ.ศ. 2501 – 2506 (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมวัฒนธรรม

กระทรวงวัฒนธรรม. http://research.culture.go.th/medias/th041.pdf

จดหมายเหตุ ร. 3 จศ. 1204 หนังสือเจ้าพระยาจักรีถึงเจ้าพระยาบดินทร์. เมื่อ 24 กรกฎาคม 2385.

จดหมายเหตุ ร. 3 จ.ศ.1205 เลขที่ 4/ก จดหมายเหตุว่าด้วยเรื่องจัดข้าวเกลือส่งกองทัพเจ้าพระยาบดินทร์.

จตุพร สังธิกุล. (2559). เกลือสินเธาว์กับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง (พ.ศ. 2512-2544). วิทยานิพนธ์

การศึกษามหาบัณฑิต (สาขาวิชาประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ชนกพร พัวพัฒนกุล. (2548). อุดมทรรศน์เกี่ยวกับ "เขมร" ในปริจเฉทหนังสือพิมพ์ไทย : กรณีเหตุจลาจลเผา

สถานทูตไทยในกัมพูชา พ.ศ.2546. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2552). ลัทธิชาตินิยมไทย/สยามกับกัมพูชา: และกรณีศึกษาปราสาทเขาพระวิหาร.

กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการ ตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

ดิเรก อุทรทวิการ ณ อยุธยา. (2557). พระธรรมศาสตร์’ กับความเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ทางกฎหมายของชนชั้น

นำไทย. วารสารประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 39 (2557): 72-92.

ถนอม อานามวัฒน์. (2514). ความสัมพันธ์ระหว่างไทย เขมร ญวนในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น, (ปริญญา

นิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาประวัติศาสตร์). กรุงเทพฯ: วิทยาลัยวิชาการศึกษา.

ทรงเกียรติ กุลวุฒิวิลาศ. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยและกัมพูชาในสมัยรัฐบาล อภิสิทธิ์ เวชชา

ชีวะ: วิเคราะห์ด้านผลกระทบต่อธุรกิจไทยในกรุงพนมเปญ (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรบัณฑิต,สาขา

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา). คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เนตรนภา รัตนโพธานันท์. (2558). ภูมิปัญญาการผลิตเกลือในแอ่งดินโคราช. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัย

ราชภัฎนครราชสีมา.ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ( ตุลาคม พ.ศ. 2557–มีนาคม พ.ศ. 2558). หน้า 13-20.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2562). การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ: มติชน.

บดินทร์เดชา, เจ้าพระยา. (2550). อานามสยามยุทธ: ว่าด้วยการสงครามระหว่างไทยกับลาว เขมร และ

ญวน. กรุงเทพฯ: โฆษิต,

บุญเตือน ศรีวรพจน์. (2543). พระนเรศวร ตีละแวกแล้วทำ “พิธีปฐมกรรม”…นำ “เลือดศัตรูล้างพระบาท” จริง

หรือ ?. ศิลปวัฒนธรรม ฉบับกันยายน 2543. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2563. จาก https://www.silpa-

mag.com/history/article_26637

บัญญัติ สาลี. (2551). วรรณกรรมเขมรปัจจุบัน. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์.

พระสุเธียร์ ยนต์. (2553). การศึกษาของพระสงฆ์ในราชอาณาจักรกัมพูชา” วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร

มหาบัณฑิต (สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬา

ลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาผลิจ เมียส (ธรรมรกฺขิโต). (2557). การศึกษาวิเคราะห์ทรรศนะเกี่ยวกับการทำบุญและบาปใน

พระพุทธศาสนาเถรวาท จังหวัดกัมปงจาม ประเทศกัมพูชา (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต

,สาขาวิชาปรัชญา). พระนครศรีอยุธยา : บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระสุขลีม ธมฺมรโต (วิน). (2560). ศึกษาอิทธิพลของประเพณี “บุญพจุมบิณฑ์” ที่มีต่อชาวพุทธในกัมพูชา

(วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต,พระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระสุฉุน อคฺคโชโต (ฉอย). (2555). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ของคณะสงฆ์ในอำเภออุฎงค์ จังหวัดกำพงสะพือ

ประเทศกัมพูชา (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต,รัฐประศาสนศาสตร์). พระนครศรีอยุธยา : บัณฑิต

วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมิญ มติตฺโต (แดน). (2560). กลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลตามหลักพุทธบริหารการศึกษา ของพุทธิก

มหาวิทยาลัยในราชอาณาจักรกัมพูชา (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต,พุทธบริหารการศึกษา).

พระนครศรีอยุธยา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พิพัฒน์ กระแจะจันทร์. (2561). โขนเป็นของใคร ไทยหรือเขมร หรือควรจะเลิกเถียงกันได้แล้ว. สืบค้นเมื่อ 15

ธันวาคม 2563,จาก https://thestandard.co/khon-unesco-intangible-cultural-heritage-

conflicts/.

วัชรินทร์ ยงศิริ. (2545). สัมพันธภาพใหม่ไทย-กัมพูชา ใน กัมพูชา วันวารที่ผันเปลี่ยน. กรุงเทพฯ: ศรีบูรณ์

คอมพิวเตอร์กราฟิก.

ศานติ ภักดีคำ. (2553). คลองแสนแสบ : ความสำคัญในฐานะเส้นทางเดินทัพไทย-กัมพูชา. วารสารหน้าจั่ว ว่า

ด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย. ฉบับที่ 6 (กันยายน 2552-สิงหาคม 2553)

:165-181.

ศานติ ภักดีคำ.(2555). ผนวช “กษัตริย์กัมพูชา” สมัยรัชกาลที่ 4 : พระพุทธศาสนากับการเมืองสองราชสำนัก

สยาม-กัมพูชา. วารสารหน้าจั่ว : ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม และสถาปัตยกรรมไทย.

ฉบับที่ 8 : กันยายน 2554-สิงหาคม 2555: 379-389.

ศานติ ภักดีคำ. (2555). ความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาระหว่างสยามสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า

เจ้าอยู่หัวกับกรุงกัมพูชา", วารสาร สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์. 18 (3),3-19.

ศานติ ภักดีคำ. (2556). เขมรสมัยหลังพระนคร. กรุงเทพ ฯ : มติชน.

สุณัย ผาสุก. (2539). นโยบายต่างประเทศของไทย : ศึกษากระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐบาลพลเอกชาติ

ชาย ชุณ หะวัณต่อปัญหากัมพูชา (4 สิงหาคม ค.ศ. 1988 ถึง 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991) (วิทยานิพนธ์

รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต,ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ). กรุเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สัญญารัตน์ มีสุวรรณ. (2559). ความขัดแย้งเหนือดินแดนปราสาทพระวิหารระหว่างไทยและกัมพูชา :

ผลกระทบ และแนวโน้มหลังคําพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2556

(รายงานการวิจัย). กรุงเทพ: สถาบันพระปกเกล้า,2559.

สำนักทะเบียนและวัดผล. (2564). สถิตินิสิตประจำปีการศึกษา 2564. พระนครศรีอยุธยา : สำนักทะเบียนและ

วัดผล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

อุเทน วงศ์สถิตย์. (2549). “ธรรมยุติกนิกาย : ศาสนมรดกไทยในกัมพูชา”, หนังสือรวมบทความทางวิชาการ

จากการประชุม ทางวิชาการนานาชาติ เรื่อง : มรดกวัฒนธรรม : ไทยกับเพื่อนบ้าน". หอประชุม

มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ 21-23 มิถุนายน 2549.

Charles F. Keyes . (1994). The Golden Peninsula: Culture and Adaptation in Mainland

Southeast Asia. Hawaii : University of Hawaii Press.

Chandler, David P. (1992). Brother Number One: A political biography of Pol Pot. Chiang Mai

: Silkworm Books.

David Chandler. (2008). A history of Cambodia. Chiang Mai : Silkworm Books.

Francois Ponchaud. (1978). Cambodia: Year Zero. New York : Holt, Rinehart and Winston.

Ian Harris. (2005). Cambodian Buddhism History and Practice. Hawai : University of Hawai‘i

Press.

Kiernan, Ben. (2002). The Pol Pot regime : race, power, and genocide in Cambodia under

the Khmer Rouge, 1975-1979. London : Yale University Press.

Kiernan, Ben (2004). How Pol Pot Came to Power: Colonialism, Nationalism, and

Communism in Cambodia, 1930–1975. Yale University Press.

Kimpichet Chhon.(2012). The Survival and the Development of Cambodian Buddhism After

Khme Rouge Regime up to 2000 C.E., (A Thesis for the Degree of Master of Arts,Buddhist

Studies). Ayutthaya: Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University.

Kimpicheth Chhon. (2017). New Models Buddhist Social Work In Cambodia. A Dissertation of

Doctor of Philosophy (Buddhist Studies). Ayutthaya: Graduate School :

Mahachulalongkornrajavidyalaya University.

Margaret Slocomb. (2004). The People's Republic of Kampuchea, 1979-1989: The revolution

after Pol Pot. Chiang Mai : Silkworm Books.

Michael Vickery. (1999). Cambodia : 1975-1982. Chiang Mai : Silkworm Books.

Sebastian Strangio. (2014). Hun Sen's Cambodia. Chiang Mai : Silkworm Books.

Samsopheap, Preap (2004). A Comparative Study of Thai and Khmer Buddhism (Thesis of

Master of Arts,Buddhist Studies). Ayutthaya: Graduate School: Mahachulalorgkornrajavid

yalaya.

Thaérn Gnok . (1995). La rose de Pailin: Traduit du khmer par Gérard Groussin. (Editions

L'Harmattan.

Tran Sone Pannamuni. (2010). A study of the influence and contribution of Theravada Buddhism

to the Khmer community in the Mekong Delta of Vietnam (Thesis of Master of Arts

,Buddhist Studies). Ayutthaya: Graduate School : Mahachulalongkornrajavidyalaya

University.

Un Sovanny. (2010).The Buddhist Monks' Role in Development of Buddhist Education in

Cambodia' (Thesis of Master Arts, Buddhist Studies). Ayutthaya: Graduate School

Mahachulalorgkornrajavidyalaya Press.

Ven. Teng Chamnan. (2017). An Analytical Study of English Speaking Skill of Cambodian Students

of Preah Sihanouk Raja Buddhist University Battambang Branch (A Thesis of Master of

Arts,Buddhist Studies). Ayutthaya: Graduate School Mahachulalongkornrajavidayalaya University

Vannak Lim. (2018). A Study of The Influence of Mahayana Buddhist Over the King Jayavarman

VII (Thesis of Master of Arts,Buddhist Studies).Ayutthaya: Graduate School Mahachulalongkornrajavidyalaya University.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.