แนวทางการแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนิสิต คณะครุศาสตร์ รายวิชาการปลูกฝังวัฒนธรรม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่
Abstract
การวิจัยครั้งนี้เป็นแนวทางการแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนิสิต คณะครุศาสตร์ รายวิชา การปลูกฝังวัฒนธรรม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนิสิต และปัญหาการไม่ส่งงาน รายวิชา การปลูกฝังวัฒนธรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แฟ้มสะสมงานของนิสิต และแบบสอบถามปัญหาการไม่ส่งงานของนิสิต มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามแบบของ ลิเคอร์ท (Likert) มี ๕ ระดับ
ผลการวิจัยพบว่า ความคิดเห็นปัญหาการไม่ส่งงานของนิสิตรายวิชา การปลูกฝังวัฒนธรรม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ พบว่านิสิตคณะครุศาสตร์มีความคิดเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาพบอยู่ในลำดับที่ ๑ งานในรายวิชาอื่น ๆ มีมากเกินไป รองลงมาคือมีภาระงานทางวัดมาก ผลของแนวทางการแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนิสิตรายวิชา การปลูกฝังวัฒนธรรม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ โดยการสร้างเงื่อนไขให้ทำเป็นแฟ้มสะสมงานส่งตามเวลาที่กำหนด พบว่า ส่งงานตรงตามเวลา จำนวน ๑๓ รูป คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
The research studies of learning development of ๔ years students in Faculty of Education by Group Investigation Model (GI). The objective of this study to improve learning development of ๔ years students in Faculty of Education by Group Investigation Model (GI)
Tools was using in this research by pre-test and post-test, and questionaire asking aboutsatisfaction of Group Investigation Model. The rating scale is using form of Likert has five levels.
Findings The Efficiency of learning development of ๔ years students in Faculty of Education by Group Investigation Model (GI). Its (E๑/E๒) equal to ๗๕/๘๒.๕๐. Effectiveness index was ๗.๔๓ percent, and students’ satisfaction with the learning development of ๔ years students in Faculty of Education by Group Investigation Model (GI).at a high level. Equal to the average as in (= ๔.๔๔, S.D. = ๐.๐๗).
Keywords
Full Text:
PDFRefbacks
- There are currently no refbacks.