แนวทางการใช้ AI ในกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย โดยศึกษาเปรียบเทียบสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหรัฐอเมริกา

ปิยะ ปะตังทา

Abstract


สาธารณรัฐประชาชนจีนและสหรัฐอเมริกา แม้อยู่ในบริบทของระบบกฎหมายและการเมืองที่แตกต่างกัน แต่ระบบกฎหมายและการเมืองไม่ได้เป็นข้อจำกัดในการนำเทคโนโลยีอัจฉริยะมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในกระบวนการยุติธรรม ดังนั้น ประเทศไทย หากต้องการนำ AI มาใช้ ต้องพิจารณาผลดีผลเสียที่เกี่ยวข้องทุกด้าน เพราะแม้เทคโนโลยี AI มีศักยภาพในการแก้ปัญหาได้หลากหลายตามความต้องการของผู้ใช้งาน แต่เทคโนโลยีนี้มิใช่ยาที่มีสรรพคุณครอบจักรวาล จึงต้องกำหนดกรอบและมาตรการในการพัฒนาเทคโนโลยีให้สอดคล้องกับหลักการสำคัญในการอำนวยความยุติธรรมให้ดีที่สุด เพื่อให้เกิดประโยชน์และการพัฒนาในกระบวนการยุติธรรมอย่างยั่งยืนต่อไป

In summary, even in the different context of legal and political systems, the People's Republic of China and the United States are not a limitation in the use of intelligent technology to solve problems in the judicial process. If Thailand wants to use AI, it has to be considered both advantages and disadvantages in all aspects. It is true that AI technology has the potential to solve a variety of problems according to the needs of users, but this technology is not a drug for the whole universal properties.

Therefore, the framework and measures for technology development must be established in accordance with the principles of the best justice administration for the benefit and sustainable development in the justice system.


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.