บทบาทของพระสอนศีลธรรมในการจัดการเรียนการสอน วิชาพระพุทธศาสนาระดับมัธยมศึกษา
Abstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เรื่องบทบาทของพระสอนศีลธรรมในการจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา ระดับชั้นมัธยมศึกษา 2) เพื่อเปรียบเทียบการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เรื่องบทบาทของพระสอนศีลธรรมในการจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา ระดับชั้นมัธยมศึกษา 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เรื่องบทบาทของพระสอนศีลธรรมในการจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนา ระดับชั้นมัธยมศึกษา พบว่า ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาระดับมัธยมศึกษา รวมไปถึงการประยุกต์คุณธรรมจริยธรรมมาปรับแผนในวิชาอื่นๆ ให้เหมาะสมกับนักเรียน และนักเรียนได้เกิดความการเรียนรู้ค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ในชีวิตประจ้าวัน และจากการใช้สื่อการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดการสนุกไม่เบื่อหน่ายเกี่ยวกับการเรียนรู้และน้าไปใช้ได้จริงและยังสามารถกระตุ้นนักเรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน การวัดและการประเมินผลมีความยุติธรรมเที่ยงตรง โดยการประเมินผลตามสภาพความเป็นจริงมีความสอดคล้องกับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
The research’s bjectives were 1) to study the promotion of learning management on the roles of Buddhist monks who teach morality in managing learning and teaching Buddhism to secondary schools 2) to compare the promotion of learning management on the roles of Buddhist monks who teach morality in managing learning and teaching Buddhism to secondary schools, and 3) to propose the guidelines to promote learning management on the roles of Buddhist monks who teach morality in managing learning and teaching Buddhism to secondary schools. were found that while managing learning and teaching Buddhism to secondary school including the application of morality and ethics into other subjects, teachers should make them appropriate to the existing levels of students where they can search for the sources of learning in their daily life and make use of those medium without sense of boring and thereby leading to the real learning whereby they could be inspired by both internal and external classrooms. Furthermore, the evaluation of the learning outcome should be of justice where the real evaluation is in accordance with the process of the development of morality and ethics respectively.
Full Text:
PDFRefbacks
- There are currently no refbacks.