การสอนสังคมกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

พระครู ภาวนาโชติคุณ (กุ้ยไฮ้ ชุตินฺธโร)

Abstract


ความเป็นมาก่อนพุทธกาล ระบบสังคมของชาวอินเดีย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าชาวชมพูทวีปเป็นระบบศักดินา แบ่งชนชั้นของคนออกเป็น 4 ระดับที่เรียกว่า วรรณะ ตามหน้าที่ของคนในวรรณะนั้น ๆ คือ วรรณะกษัตริย์, เป็นผู้ปกครองและเป็นนักรบ วรรณะพราหมณ์,เป็นผู้สอนพระเวทและประกอบพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์, วรรณะแพศย์ เป็นผู้ประกอบอาชีพทั่วไป และวรรณะศูทร เป็นวรรณะต่ำ ประกอบอาชีพรับใช้คนในวรรณะที่สูงกว่าตน นอกจากนั้นยังมีพวกนอกวรรณะ คือ พวกจัณฑาล หากวรรณะสูงแต่งงานกับวรรณะต่ำ หรือวรรณะต่ำแต่งงานข้ามวรรณะกันเอง เช่น แพศย์แต่งงานกับศูทร บุตรที่เกิดจะถูกจัดเป็นอยู่ในพวกจัณฑาล หรือไม่มีวรรณะ พวกศูทรและพวกจัณฑาลมักถูกคนในวรรณะอื่นถูกเหยียดหยามและตั้งข้อรังเกียจ โดยเฉพาะพวกจัณฑาลไม่มีโอกาสศึกษาใด ๆ

History before Buddha Era Indian social regime or was called the Indian subcontinent. They were distinction regime. They divided them to be 4 groups were called caste and by on duties of them that mean, King caste their duties for rule over and warrior, Brahmin caste their duties for Vedas teaching and doing for Brahmin function, Traders caste their duties for doing general occupation, and Sudra caste, they were lower group on their duties for giving service for upper than caste. On the other hands, there were groups of casteless mean outcast or untouchable. If some of upper caste got married with them or outcast got married to each other or cross caste such as Traders married with outcast, their children where been untouchable or outcast. So, they should be underestimate and objectionable especially for education.


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.