พุทธธรรมกับการสอนสังคมศึกษาเพื่อการอนุเคราะห์อย่างบูรณาการ

พระ สุวรรณเมธาภรณ์,ผศ., รศ.ดร.สมชัย ศรีนอก

Abstract


พุทธธรรมกับการสอนสังคมศึกษาเพื่อการอนุเคราะห์อย่างบูรณาการนั้น คือการช่วยเหลือสรรพสัตว์ในครั้งที่ทรงตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้วนั้น เกิดจากพระพุทธคุณที่มีอยู่ในพระองค์ โดยเฉพาะพระปัญญาคุณและพระมหากรุณาธิคุณ ซึ่งพระพุทธองค์สามารถละอวิชชา ตัณหา และอุปาทานได้แล้ว จึงทรงมีพระปัญญาและกรุณาเป็นแรงจูงใจในการกระทำกิจต่าง ๆ ในสังคม เพื่อช่วยเหลือสรรพสัตว์ให้พ้นจากความทุกข์ พระพุทธองค์ทรงให้ความช่วยเหลือผู้คนในสังคมทางด้านจิตใจแก่ผู้ประสบปัญหา หรือความทุกข์โดยเน้นการเยียวยาจิตใจ เพื่อให้บุคคลในสังคมเหล่านั้น พ้นจากความทุกข์ ความโศกเศร้า และมีคุณธรรมในจิตที่พัฒนาขึ้น จนกระทั่งเกิดดวงตาเห็นธรรม เป็นอริยบุคคล เป็นการบำเพ็ญพุทธกิจทางด้านปัญญา การที่พระพุทธองค์ทรงให้ความช่วยเหลือโดยเน้นการส่งเสริมหรือพัฒนาจิตใจให้เจริญยิ่ง ๆ ขึ้น จนกระทั่งเกิดปัญญา รู้แจ้งสัจธรรม เป็นพระอริยบุคคล พ้นจากกิเลสและความทุกข์ คือพุทธธรรมเพื่อการสอนสังคมศึกษาเพื่อการอนุเคราะห์อย่างบูรณาการอย่างหาที่สุดมิได้

          Buddha Dhamma and Social Teaching to aid Integration were helping all animals. At occasionally when Buddha get enlightenment because of Buddha’s grace with himself and especially intelligence compassion which Buddha can leave ignorance passion and preconceived’ So that, Buddha used intelligence and compassion motivate to do all activities for helping all animals absolve from suffering. Buddha gave helping all animals in social for mental of those who got some problems and help them without suffering then cultivate mental for them. Buddha try to take them without from suffering sorrow and develop them with moral. Therefore, they had the eyes followed Dhamma. They can have excellent results that perform Buddha activities by wisdom. So, Buddha gave generous for helping all animals or mental development until wisdom then got an excellent results. They can be without from suffering. So, there were Buddha Dhamma to social teaching to aid Integration and lasting. 


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.