พุทธธรรมกับการสอนสังคมศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ดร.ปิยะดี ประเสริฐสม, ดร.สุรเดช ประเสริฐสม

Abstract


แนวคิดหลักของเศรษฐกิจพอเพียง คือ การนำคำสอนทางพระพุทธศาสนา มาเป็นแนวทางในการประสานกลมกลืนกับวิธีชีวิตของชาวบ้าน ที่เป็นเกษตรกรอย่างชาญฉลาด และเป็นรูปธรรม หลักจริยธรรมดังกล่าว คือหลักการเดินสายกลาง หรือ มัชฌิมาปฏิปทา ในระดับโลกิยธรรม การเดินทางสายกลาง คือธรรมที่เหมาะแก่ชาวบ้านทั่วไป ได้แก่ ความเป็นรู้จักพอในการบริโภคใช้สอยทรัพยากรธรรมชาติ และการใช้ชีวิตแบบไม่ฟุ่มเฟือย ฟุ้งเฟ้อ ซึ่งมีลักษณะเป็นการเน้นการลด ละ เลิก อบายมุข ด้วยการประพฤติตามหลักเบญจศีล และ เบญจธรรม ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของการเป็นวิถีพุทธ The concept according to sufficiency economy was bringing Buddhist principle to be guide line and concern with flock way who were farmers by cleverly and by natural form.  The Dhamma principle was the middle way or middle path in worldly case. So that, the middle path was properly way for villagers namely moderate for consuming and using natural resources and using life by no superfluous which have characteristics by reduce leave give up all vices by action behavior according to five precept and five based of Dhamma. Because they were heart of the Buddhism.

Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.