การมีจิตสาธารณะตามแนวทางพระพุทธศาสนา

พระครู ภาวนาโชติคุณ (กุ้ยไฮ้ ชุตินฺธโร)

Abstract


การมีจิตสาธารณะ ความสำนึกที่ดีงามต่อสังคมส่วนรวมของผู้คนทุกเพศทุกวัยที่สังคมทุกภาคส่วน ได้แก่ สังคมปฐมภูมิ คือ สถาบันครอบครัว และ สังคมทุติยภูมิ คือ สาถบันการศึกษาเพื่อนร่วมงานต่าง ๆ เป็นที่ต้องการและพึงประสงค์ อันมีฐานมาจากการนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เช่น หลักสังคหวัตถุ 4หลักสัปปุริสธรรม 7 หลักจิตสาธารณะสากล ที่เป็นที่ยอมรับสอดคล้องกับยุคสมัยโดยทั่วไป และหลักวิถีไทยมาบูรณาเข้าไปเสริม ทำความดีด้วยหัวใจ การร่วมกันให้เกิดเป็นจิตที่ดี แสดงออกด้วยการเสียสละ ทำประโยชน์เพื่อส่วนรวมเป็นสันติสุขแก่สังคมสืบไป

Having public mind means good consciousness for public of all people and all ages as effect to all social such as social primary mean family social secondary mean education institute and colleague wanted and desirable. Because of there were bases from Buddhist Dhamma principle example bases of sympathy or Sangahavatthu 4, qualities of a good man or Sappurisathamma 7, and main of international public mind that can accept for all and main of Thai flock way concern as service mind for combine to be good spirit then performance by sacrifice make benefit for publication and social so on.


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.