การบริหารการศึกษาตามหลักพุทธธรรม

พระมหา ธีรวัฒน์ สกฺกธมฺโม (อาจภักดี)

Abstract


การบริหารการศึกษาตามหลักพุทธธรรมของพระพุทธศาสนานั้น นับว่าเป็นพันธกิจจากพุทธกิจประจำวันลงสู่ทางปฏิบัติในทางพระพุทธศาสนาสืบเนื่องมายาวนานประการหนึ่งของการบริหารการศึกษาตามหลักพุทธธรรม คือ การให้การสงเคราะห์แก่ประชาชน ตัวอย่างเช่น หลักสังคหวัตถุ 4 คือ การมีความโอบอ้มอารี มีวจีไพเราะ สงเคราะห์ผู้คน และวางตนเหมาะสม การจัดการศึกษาถือว่าเป็นภาระงานหนึ่งในการบริการวิชาการแก่สังคมของพระภิกษุ ในพระพุทธศาสนา ตามโรงเรียนการกุศลต่างๆ ของวัดในพระพุทธศาสนา จึงถือเป็นภาระงานร่วม ที่มีการดำเนินการจัดการศึกษาตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน พระภิกษุ ตั้งแต่ระดับเจ้าอาวาส เป็นผู้ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียน หรือมอบที่ดิน หรืออนุญาตให้ใช้ที่ดินของวัดเพื่อการจัดตั้งโรงเรียน ทั้งในส่วนที่เป็นโรงเรียนวัด ภายใต้การบริหารงานของหน่วยงานภาครัฐ และจัดตั้งโรงเรียนการกุศลที่สังกัดการศึกษาเอกชน บริหารงานโดยคณะสงฆ์ และรัฐเป็นผู้ให้การอุปถัมภ์และสนับสนุน

Educational Administration According to Buddhist Principles was concerned with Buddha’s activity to practice in Buddhism as long time ago of Educational Administration According to Buddhist Principles that mean giving people housing, example for 4 group integration and leadership mean generosity, kindly speech, rendering service even and equal treatment. Education was the one of duty in social for monks in Buddhism such as in Buddhist accommodate school as cooperation management since passed up to now. Monks on ranking from abbot up to manager school owner or who give land or allow to use their land for establish school both school and temple within governor management and then set accommodate school for private that administrate by monks and the government who sponsor and supporter.


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.