การพัฒนาศักยภาพพุทธบริษัทตามหลักปรมัตถธรรม

พระสมุห์ สมโภชน์ อินฺทวิริโย

Abstract


ในพระพุทธศาสนา หลักปรมัตถธรรม หมายถึง หลักธรรมชั้นสูงมี 4 ได้แก่ จิต เจตสิก รูป และ นิพพาน ในปรมัตถธรรมทั้ง 4 นั้น มีปรมัตถ์อยู่ 3 อย่าง คือ จิต เจตสิก และรูป เป็นสังขารธรรม เป็นสังขตธรรม สำหรับนิพพานนั้นเป็นวิสังขารธรรม  และเป็นอสังขตธรรม จิต เจตสิก รูป ที่เป็นสังขารธรรมนั้น เป็นขันธ์ด้วย ซึ่งความหมายของขันธ์นี้ มีผู้ให้ความหมายไว้ในการสนทนาธรรมครั้งก่อนๆ ว่า ขันธ์นั้นหมายถึงกอง เช่น กองรูป ก็ได้แก่รูปทุกรูป อยู่ในกองรูป ไม่ใช่อยู่ในกองอื่น ดังนั้น รูปทุกชนิดจึงเป็นรูปขันธ์ หมายถึง สภาพธรรมที่จำแนกเป็นอดีต อนาคต ปัจจุบัน ภายใน ภายนอก หยาบ ละเอียด ทราม ประณีต ไกล ใกล้ ในบรรดาปรมัตถธรรมทั้ง 4 นั้น ปรมัตถธรรมที่เป็นขันธ์ ก็ได้แต่จิต เจตสิก และรูป ส่วนปรมัตถธรรมที่ไม่เป็นขันธ์ก็ได้แก่นิพพาน ซึ่งเรียกว่าขันธวิมุตติ 

then nirvana perfect. They were concluded remain only 3 in o image mean mental spirit and body be for image and body. Therefore, nirvana was not be an image and not body. Mental spirit image as for image were of group too. There was some of speaker has given the meaning before conversation that mean group such as image and all image not from others. Though, all images were bodies. Body means condition as come from last future present internal external rough resolution immoral delicate near far. Those all Dhamma perfection 4 were for Dhamma perfect namely mental spirit and body. On the other hand, Dhamma Perfection were not body mean nirvana that was called released.


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.