พุทธธรรมในระบบราชการ Buddhist Moral Code in Political System

Sophon jalerd

Abstract


ระบบราชการไทยมีกำเนิดมาเมื่อใดเป็นเรื่องที่ยากจะกำหนด นับตั้งแต่มีการปกครองประเทศมาถึงปัจจุบัน ระบบราชการได้เป็นกลไกหนึ่งในการปกป้องอธิปไตย ปกป้องสถานะอำนาจของผู้นำ เผชิญภัยคุกคามจากภายนอก รักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ จัดระเบียบสังคม และริเริ่มผลักดันให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นองค์อธิปัตย์ เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดพระองค์เดียวก็ตาม ใช่ว่าการปฏิรูประบบราชการจะเป็นไปโดยสะดวกง่ายดายเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน ระบบราชการไทยซึ่งเป็นเครื่องมือการปกครองส่วนพระองค์ของพระมหากษัตริย์ได้กลายมาเป็นเครื่องมือสาธารณะ นับตั้งแต่ พ.ศ.2475 เป็นต้นมา ระบบราชการไทยได้ขยายตัวจนเป็นระบบที่มีขนาดใหญ่ มีกำลังคนประมาณสองล้านคน และมีหน่วยงานระดับต่างๆจำนวนมากมายกระจายอยู่ทั่วไป ระบบราชการไทยมีบทบาทและภารกิจครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของประเทศ บทบาทและภารกิจของระบบราชการไทยตั้งแต่อดีตจนถึงการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อมทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม

When politics in Thailand began cannot be stated accurately. So far, politics has been what protects sovereignty and authority’s power, saves the country from external threats, maintains peace and discipline in the society, and overcomes all the challenges. Moreover, political force is also the key which helps the country develop continually. Before the revolution of 1932, Thai kingdom was under absolute rule of the monarch at that time, Phrabat Somdet Phra Poramentharamaha Mongkut or Phra Chom Klao Chao Yu Hua (Rama IV). However, after the democratic revolution in 1932, the country officially became under a constitutional monarchy with a prime ministry as the head of the government. From time to time, the changes in the political system’s role have taken place many times due to political environment and economics. Nowadays, there are more than two million officials in Thai political system working throughout the country.


Full Text:

XML

Refbacks

  • There are currently no refbacks.