แนวทางพัฒนาอาชีพกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเย็บปักถักร้อยผลิตภัณฑ์ใยกัญชง ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง PROFESSIONAL DEVELOPMENT GUIDELINES FOR WOMEN FARMER GROUP HEMP EMBROIDERY PRODUCT GROUPS FOLLOWING THE SUFFICIENCY ECONOMY PHILOSOPHY

Jukgrin ,Natad Whungthun , Assapaporn

Abstract


            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อหาแนวทางการพัฒนาอาชีพกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเย็บปักถักร้อยผลิตภัณฑ์ใยกัญชง ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์

ผลการวิจัย พบว่า 1) แนวทางความเป็นมาของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเย็บปักถักร้อยผลิตภัณฑ์              ใยกัญชง ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง อายุระหว่าง 60 ปีขึ้นไป รวมกลุ่มทำอาชีพเสริมโดยนำใยกัญชงมาเป็นวัตถุดิบหลักในการทำผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ โดยได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานต่างๆ และได้เข้าร่วมโครงการ หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่รู้จัก 2) สร้างความสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของของสมาชิกในกลุ่มสมาชิกทุกคนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้นำกลุ่ม และทุกคนก็มีส่วนร่วมกับงานของกลุ่มเป็นอย่างดี มีการพบปะพูดคุยกันที่บ่อยครั้ง  เป็นการสร้างความสัมพันธ์และความผูกพันที่ดีต่อกัน แสดงความคิดเห็น และหาแนวทางการแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้สามารถดำเนินงาน 3) ได้ปัญหาและความต้องการภายในกลุ่มยังขาดความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อีกทั้งสมาชิกยังยึดวิธีการผลิตแบบเดิมๆ ต่างคนต่างทำแล้วนำมาส่งกลุ่มซึ่งตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไม่ได้มุ่งหวังแต่ผลประโยชน์และรายได้เพียงอย่างเดียว แต่จะเน้นถึงความสมดุลและมีเหตุผล 4) แนวคิดเรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หน่วยงานที่มีส่วนเข้ามาช่วยเหลือ หรือเกี่ยวข้องมีการจัดแบ่งปันให้ความรู้แก่สมาชิก เพื่อทำความเข้าใจแก่นแท้ของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอยู่ตลอดเวลา

   

         The purpose of this research was to find the way to develop guidelines for professional development, housewife farmer group, embroidery, hemp product. The Population was 17 persons and the interview data was used as the tool.

The results of this research found that 1) The background of housewife farmer group, embroidery, hemp product mostly be women sample aging was upper 60 years that turned to supplement career, used the hemp fiber as the main raw material for making new products, with the promotion of various agencies and joined “One Tambon One Product” to promote their product. 2) In the group, there were relationship and participation of all member .They were well involved with the group and created the good relationship when they had problems they discussed then commented find solutions to problems without interruption in operation.3) Problems and needs within the group were still missunderstanding in Sufficiency Economy Philosophy.The members also took the traditional production methods that mean they made it and briought it to the group. The Sufficiency Economy Philosophy didn’t aim for profit but income, it would focused on balance and reason. 4) Concepts of Sufficiency Economy Philosophy, the government official relevant agencies always contributed to help or involved sharing knowledge to members until they understand the essence of Sufficiency Economy Philosophy all the times.


Full Text:

PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.