ประวัติชีวิตและการทำงานของลุงประยงค์ รณรงค์ : บทสังเคราะห์วิวาทะ ว่าด้วยเรื่องจริยศาสตร์การพัฒนา The history of life and work of Prayong Ronnarong : Synthesis of the topic of development ethics.
Abstract
หลักจริยศาสตร์การพัฒนาของลุงประยงค์ รณรงค์นั้น ประกอบไปด้วย 1) การรู้จักคุมพฤติกรรมจิตใจ
ของตนเอง ทั้งในเรื่องของความโกรธ ความโลภ และความหลง ก็เหมือนทุกคนย่อมมีสิ่งนี้เป็นเรื่องปกติ แต่ต้องรู้จักยับยั้งโดยใช้หลักเหตุผล มีสติปัญญาในการแก้ปัญหา 2) มีการพัฒนาจริยธรรม และความดีงาม ภายใต้การรักษาศีล 5 ซึ่งเป็นสิ่งที่แสดงถึงพฤติกรรมที่ดีงามพร้อมกับการพัฒนาชุมชน และสังคมไปพร้อมกันตามหลักสมาธิ และปัญญา 3) ต้องรู้จักพัฒนา และร่วมแก้ปัญหาความขัดแย้งของคนในชุมชน 4) ให้ความเสมอภาค
ให้ความยุติธรรม และความสงบสุข ไม่ให้เกิดความขัดแย้ง แก้ไขปัญหาโดยใช้หลักคุณธรรมจริยธรรมและวินัยของชุมชน 5) ทำตัวให้เป็นบุคคลที่เป็นตัวอย่างเรื่องการบริหารตนเองและชุมชนให้มีความสุข ทำหน้าที่ให้สมบูรณ์ถูกต้องเพื่อบริหารชีวิต และสังคมที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นให้มาก และการบริหารงานที่เป็นธรรม รู้จักการเสริมสร้างความสุข โดยการเรียนรู้บุคคล และสังคมให้เกิดการจัดการ และคุ้มครองชีวิตที่ดีร่วมกันภายใต้สวัสดิการของชุมชน 6) มองในชีวิตว่าเป็นสิ่งที่ดีงาม คือ ต้องมีสุขภาพที่ดี มีการเรียนรู้ตลอดเวลา ทุกคน
มีรายได้ มีงานทำ มีอาชีพ พร้อมทั้งสร้างครอบครัวที่อบอุ่น จึงจะทำให้ชุมชนมีความสุขได้ และ 7) ต้องรู้จัก
สร้างดุลยภาพของชีวิต และธรรมชาติที่สามารถใช้ได้จนถึงรุ่นลูกรุ่นหลานต่อไป
ของตนเอง ทั้งในเรื่องของความโกรธ ความโลภ และความหลง ก็เหมือนทุกคนย่อมมีสิ่งนี้เป็นเรื่องปกติ แต่ต้องรู้จักยับยั้งโดยใช้หลักเหตุผล มีสติปัญญาในการแก้ปัญหา 2) มีการพัฒนาจริยธรรม และความดีงาม ภายใต้การรักษาศีล 5 ซึ่งเป็นสิ่งที่แสดงถึงพฤติกรรมที่ดีงามพร้อมกับการพัฒนาชุมชน และสังคมไปพร้อมกันตามหลักสมาธิ และปัญญา 3) ต้องรู้จักพัฒนา และร่วมแก้ปัญหาความขัดแย้งของคนในชุมชน 4) ให้ความเสมอภาค
ให้ความยุติธรรม และความสงบสุข ไม่ให้เกิดความขัดแย้ง แก้ไขปัญหาโดยใช้หลักคุณธรรมจริยธรรมและวินัยของชุมชน 5) ทำตัวให้เป็นบุคคลที่เป็นตัวอย่างเรื่องการบริหารตนเองและชุมชนให้มีความสุข ทำหน้าที่ให้สมบูรณ์ถูกต้องเพื่อบริหารชีวิต และสังคมที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่นให้มาก และการบริหารงานที่เป็นธรรม รู้จักการเสริมสร้างความสุข โดยการเรียนรู้บุคคล และสังคมให้เกิดการจัดการ และคุ้มครองชีวิตที่ดีร่วมกันภายใต้สวัสดิการของชุมชน 6) มองในชีวิตว่าเป็นสิ่งที่ดีงาม คือ ต้องมีสุขภาพที่ดี มีการเรียนรู้ตลอดเวลา ทุกคน
มีรายได้ มีงานทำ มีอาชีพ พร้อมทั้งสร้างครอบครัวที่อบอุ่น จึงจะทำให้ชุมชนมีความสุขได้ และ 7) ต้องรู้จัก
สร้างดุลยภาพของชีวิต และธรรมชาติที่สามารถใช้ได้จนถึงรุ่นลูกรุ่นหลานต่อไป
Full Text:
PDFRefbacks
- There are currently no refbacks.
หลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการพัฒนาสัคม
ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
โซน B ชั้น M อาคารเรียนรวม เลขที่ 79 หมู่ที่ 1 ถนนพหลโยธิน
ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170
โทรศัพท์ +66(0) 3524 8000 ต่อ 8278
โทรสาร +66(0) 3524 8000 ต่อ 8279
มือถือ +66(0) 8 1268 1128
http://www.journal-socdev.mcu.ac.th/
jsocdev@gmail.com