แนวทางการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
Abstract
ในโลกหลังยุคใหม่ (Post-modernization) ทุกประเทศต่างพยายามสร้างกระบวนทัศน์การพัฒนา ภายใต้ปริเขตของการเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ มิติของสังคม สิ่งที่ปรากฏออกมาให้เห็นอย่างเด่นชัดคือ จะทําอย่างไร หรือมีวิธีการใดที่จะทําให้สภาพการณ์ของประเทศตนเอง “มีความเป็นเลิศ” ในทุก ๆด้านไม่วาจะเป็น ด้านการเมืองการปกครอง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม วัฒนธรรม รวมทั้งด้านการศึกษาด้วย เพราะการศึกษาจัดการศึกษาในยุคนี้มีการเปลี่ยนแปลงอยางมากมาย ความสลับซับซ้อนของสังคมมีมากขึ้นตามลําดับ องค์ความรู้/ ข้อความรู้ต่างถูก “ผลิต” ขึ้นมาใหม่ หรือบางครั้งก็นําความรู้เดิมมาผลิตซ้ำบนฐานของการเปลี่ยนแปลง แต่อย่างไรก็ตามถือได้ว่ามี “การต่อยอด” ในความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาในองค์ความรู้/ ข้อความรู้ นั้น ๆ ให้ดียิ่งขึ้น
In the Post-modernization all countries tried to create process for development within context for new change for all dimension of social. The appear for clear mean how to do, or which condition for making country development to be “Excellence” for all parts event for political economy social culture then concord with education. Because education management for this period have to change more and more. The intricacy of social has plus more by respectively. Knowledge and information were “Produced” for new or for sometime we can take to reform base on changing. However, there was “Capping” for an anticipation for knowledge development and so on.
Full Text:
PDFRefbacks
- There are currently no refbacks.