การพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนเรื่องพรหมวิหาร 4 โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านห้วยหิน จังหวัดฉะเชิงเทรา
Abstract
การวิจัยครั้งนี้ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง พรหมวิหาร 4 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านห้วยหิน จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่สร้างขึ้นนั้น พบว่า มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน (E1) 87.78 /(E2) 88.17 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ปกติ 80/80 2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้หลังใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง พรหมวิหาร 4 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านห้วยหิน จังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนมีอัตราสูงขึ้น โดยมีคะแนนเฉลี่ย () ก่อนการใช้ เท่ากับ 21 หลังการใช้ เท่ากับ 35 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่คาดไว้ระดับ 0.05 และค่าเฉลี่ยร้อยละหลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ เท่ากับ 88.17 พบว่าสูงกว่าเกณฑ์ที่คาดหวังไว้ 3) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง พรหมวิหาร 4 สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านห้วยหิน จังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า อยู่ในเกณฑ์ที่โดยรวมแล้วนักเรียนมีความพอใจมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ลำดับที่ 1 คือ ด้านวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ลำดับที่ 2 คือ ด้านเนื้อหา ลำดับที่ 3 คือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ลำดับที่ 4 คือ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้และลำดับที่ 5 คือ ด้านการวัดผลประเมินผล โดยค่าเฉลี่ย ()รวมทุกด้าน 4.49 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมทุกด้าน เท่ากับ 0.14
The thesis entitled from the study, it was found as follows: 1) The results of the development of the learning activities on Brahmavihãra for the 1st year secondary school students of Ban Hua Hin school, Chachoengsao province found to be efficient according to the standard criteria of 87.78 (E1) and 88.17 (E2); thus, higher than the normal criteria of 80/80. 2) From the results of the comparison of the learning achievements, it was found that after using the learning activities on Brahmavihãra for the 1st year secondary school students of Ban Hua Hin school, Chachoengsao, had a higher score than before using the learning activities. The results showed that before using the learning activities had an average () equal to 21 while after using had an average equal to 35, with a statistically significant difference at 0.05 level. The average percentage after using learning activities was 88.14; thus, higher than the expected criteria. 3) The results of the students’ satisfaction towards the learning activities on Brahmavihãra for the 1st year secondary school students of Ban Hua Hin school, Chachoengsao found to be in a criteria that, overall, students were very satisfied in all aspects, in descending order as follows: The first was the learning objectives; the second was the content; the third was the arrangement of the learning activities; the forth was the learning activities; and the fifth was the evaluation and assessment. The study showed the average () of all aspects was at 4.49 with a standard deviation (S.D.) equal to 0.14
Full Text:
PDFRefbacks
- There are currently no refbacks.