การส่งเสริมวัฒนธรรมทางการเมืองระบอบประชาธิปไตยในการเลือกตั้งของประชาชนตำบลเวียงทอง อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่

Sukhawadee Wangkham, Somjit Konwong, Sayan Innanjai

Abstract


การสร้างความรู้ความเข้าใจทางการเมืองสำหรับประชาชนในพื้นที่เป็นกระบวนการส่งเสริมวัฒนธรรมทางการเมืองที่เป็นการสร้างสรรค์และยกระดับการเมืองในท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งแนวทางด้านการสร้างความรู้ทางการเมือง ความรู้ในระบอบประชาธิปไตย พฤติกรรมทางการเมือง ทัศนคติที่มีต่อการเมือง และการสร้างจิตสำนึกที่มีต่อการเมืองระบอบประชาธิปไตยเป็นแนวทางส่งเสริมวัฒนธรรมทางการเมืองในสังคม สำหรับการส่งเสริมที่เหมาะสมแก่การยกระดับและพัฒนาวัฒนธรรมทางการเมืองควรสร้างความรู้ ความเข้าใจในความเป็นการเมือง สร้างจิตสำนึกให้ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมทางการเมือง เป็นแนวทางเพื่อพัฒนากระบวนการส่งเสริมทางการเมืองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย อีกทั้งยังเป็นการให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมทางการเมืองในทุกระดับอีกด้วย


Keywords


วัฒนธรรมทางการเมือง, ระบอบประชาธิปไตย, การเลือกตั้ง, Politics cultural, Democracy, Election

Full Text:

PDF

References


กรมการปกครอง (2563). สำนักทะเบียน อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่.

ก่อเกื้อ พรหมกสิกร, (2559), วัฒนธรรมทางการเมืองของพนักงานรัฐวิสาหกิจการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง, การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเมือง, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

จรูญ สุภาพ, (2544), หลักรัฐศาสตร์ฉบับพื้นฐาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

จันทนา สุทธิจารี, (2544), การมีส่วนร่วมของประชาชน การเมืองการปกครองไทยตามรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน, กรุงเทพฯ : วี,เจ,พริ้นติ้ง.

จิรโชค (บรรพต) วีระสัย, และคณะ, (2540), รัฐศาสตร์ทั่วไป, กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ชัยณรงค์ฤทธิ์ วาปีสิน และคณะ, (2560), แนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของสตรีให้มากขึ้นของเทศบาลตำบลท่าพระ : กรณีศึกษาหมู่บ้านหนองโข่ย ตำบลท่าพระ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น, มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2543), ประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ : พิมพลักษณ์.

ทิพาพร พิมพิสุทธิ์, (2555), การกำหนดและการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ = Public policy formulation and analysis, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ทิพาพร พิมพิสุทธิ์, (2541), พัฒนาการเมือง (Political development), กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รามคำแหง.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550, (2550), ราชกิจจานุเบกษา.

วรทิพย์ มีมากและชีวินทร์ ฉายาชวลิต, (2547), หน้าที่พลเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข, กรุงเทพฯ: รําไทยเพรส จํากัด.

วิเชษฐ์ เทพเฉลิม และสุรพันธ์ ทับสุวรรณ, (2545), วัฒนธรรมทางการเมืองของสมาชิกรัฐสภาไทย (พ.ศ. 2524), กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

วิทยากร เชียงกูล, หลักการของระบอบประชาธิปไตย, (ออนไลน์, แหล่งที่มา :http://

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, (2549), การเมืองการปกรองไทย: ยุคเผด็จการ-ยุคปฏิรูป, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.

.............................., (2546), วัฒนธรรมทางการเมืองของคนชั้นกลางในสังคมไทย, กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สิทธิพันธ์ พุทธหุน, (2541), ทฤษฎีการเมืองและจริยธรรม 3, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Almond, G, A,, & Verba, S,, (1965), The civic culture, (Boston: Little Brown.

Jarol, B, Manheim, The Politics Within, New Jersey : Prentice-Hall.

Lester W, Milbrath and M, L, Goal, (1977), Political Participation : How and Why Do People Get Involved in Politics, Chicago : Rand McNally College Publishing Company.

McClosky, Herbert, (1968), “political Participation”, In International Encyclopedia of the Social Science, Vol, 12, New York : McMillan and Free Press.

Robert, G, K , (1971), A Dictionary of Political Analysis, London : Longman.

Samuel Huntington and Jorge l, (1975), Dominguez, Political Development: in the handbook of the political science : Macro political theory, edited 2, Fred Greenstein and Nelson P, Reading, Mass : Addison-Wesley.

Weiner, Myron, (1971), Political Participation : Crisis of the Political Process, In Leonard, Binder and others, Crisis on Sequences in Political Development, Princeton: Princeton University Press.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.