กระบวนการส่งเสริมการเลือกตั้งแบบมีส่วนร่วมทางการเมืองในการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุตรดิตถ์ของประชาชนในเขตเทศบาล ตำบลบ้านแก่ง อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์

Thanat Palikuy, Thananan Khumthinkaew, Phramaha Thongchai Phichai, Prachayut Bhubanthat

Abstract


การสร้างกระบวนการทางการเลือกตั้งเป็นแนวทางหนึ่งสำหรับการส่งเสริมประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมจากหน่วยงานทางภาครัฐและประชาชน ซึ่งแนวทางในการส่งเสริมการเลือกตั้งเป็นสิ่งที่ต้องตระหนักเนื่องจากการปกครองในระบอบประชาธิปไตยเป็นกระบวนการที่ทุกคนมีสิทธิ์ในการออกเสียง มีสิทธิ์ในการเสนอความคิดเห็นทางการเมือง อีกทั้งการแสดงออกทางการเมืองก็เป็นสิ่งสำคัญยิ่ง ดังนั้นหน่วยงานรัฐจึงต้องเข้ามามีบทบาทในการสร้างความรู้ ความตระหนักทางการเมืองให้กับประชาชน อีกทั้งต้องเป็นหน่วยงานสำหรับประสานงานระหว่างภาครัฐกับประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ความเข้าใจทางการเมืองและตระหนักในคุณค่าของการเมืองในระบอบประชาธิปไตย

Keywords


กระบวนการทางการเมือง, ระบอบประชาธิปไตย, การเลือกตั้ง, คุณค่าทางการเมือง, political process, democracy, elections, political values

Full Text:

7197

References


กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ, (2559). การเลือกตั้ง พรรคการเมือง และเสถียรภาพของรัฐบาล. กรุงเทพมหานคร : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, (2531).

กิจจา บานชื่น และกณิกนันต์ บานชื่น, (2560). หลักการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด มหาชน.

โกวิทย์ พวงงามและอลงการณ์ อรรคแสง, (2547). คู่มือมิติใหม่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น:ผู้บริหารท้องถิ่นที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์เสมาธรรม.

งานทะเบียนราษฎร, (2565). สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบ้านแก่ง อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์. งานทะเบียนราษฎร (1 กุมภาพันธ์ 2565).

ธวัช ชูวิทย์สกุลเลิศ, (2550). “ศาลเลือกตั้ง ศึกษาปัญหาทางทฤษฎีและกฎหมายในการจัดตั้งและรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย”. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ.

นรินทร์ชัย พัฒนพงศา, (2547). การมีส่วนร่วม หลักการพื้นฐาน เทคนิคและกรณีตัวอย่าง. พิมพ์ครั้งที่ 2. เชียงใหม่ : สิริลักษณ์การพิมพ์.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, (2544). การสร้างธรรมาภิบาลในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน.

เปรมศักดิ์ แก้วมรกฎ, (2560). “วัฒนธรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของวัยรุ่นในสังคมพหุวัฒนธรรม: กณณีศึกษา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองและยุทธศาสตร์การพัฒนา. คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

พิมลจรรย์ นามวัฒน์, (2541). “การเลือกตั้ง” เอกสารการสอนชุดวิชาสถาบัน และกระบวนการทางการเมืองไทย หน่วยที่ 12 สาขาวิชารัฐศาสตร์. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ราชกิจจานุเบกษา, (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับ พ.ศ.2560. มาตรา 133 (3) มาตรา 236. มาตรา 256 (1)

วัชรา ไชยสาร, (2565). พัฒนาการมีส่วนร่วมในทางการเมืองกับประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมและพหุการเมือง:การเมืองภาคประชาชน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_news.php?nid=16001&filename=visit, [4 กุมภาพันธ์ 2565].

วัชรา ไชยสาร, (2544). ระบบการเลือกตั้งกับการเมืองไทยยุคใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บี.เจ.เพลท โปรเซสเซอร์.

สมคิด บางโม, (2558). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด.

สาธิต กฤตลักษณ์, (2561). “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนตามหลักธรรมาภิบาล”. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561):

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, (2565). สาระน่ารู้เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ ชุด “สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของปวงชนชาวไทย”. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.royin.go.th/dictionary/, [4 กุมภาพันธ์ 2565].

สุขุม นวลสกุล, (2535). การเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรรามคำแหง.

สุภัทธธนีย์ ขุนสิงห์สกุล และพชรดนัย วัชรธนพัฒน์ธาดา, (2561). พฤติกรรมการเลือกตั้งของประชาชนเขตจังหวัดพิจิตร. วารสารราชมงคลล้านนา : ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2561).

อคิน ระพีพัฒน์, (2547). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์การศึกษานโยบายสาธารณสุข.

อรทัย ก๊กผล, (2552). คู่คิด คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน สำหรับนักบริหารท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร : จรัญสนิทวงศ์การพิมพ์.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.