การบริหารจัดการกับการบูรณาการตามหลักโลกธรรมของนักการเมือง

winai rimtes

Abstract


บทคัดย่อ

การเมืองไทยในปัจจุบันมีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในระยะเวลาที่ผ่านมาปัญหานี้เกิดจากความขัดแย้งระหว่างกลุ่มการเมือง ซึ่งมีความเห็นทั้งต่อต้านและสนับสนุน จึงทำให้การเมืองไทยวุ่นวายไม่มีที่จะยุติลงได้ทำให้ปัญหาเหล่านี้ส่งผลกระทบอย่างมากมายและทำให้เสื่อมลงเรื่อย ๆ จนไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที ทางพระพุทธศาสนามีหลักธรรมและคำอธิบายเกี่ยวกับปัญหาทางโลก หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาจึงได้สอนให้มนุษย์ต้องยอมรับสภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับตนเองให้ได้ เป็นต้น การบริหารจัดการชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาผู้ที่ผ่านการบ่มเพาะและปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของกฎธรรมชาติได้ย่อมไม่หวั่นไหวไปตามการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นการบริหารจัดการชีวิตเพื่อความสุขตามแนวทางโลกวิถีเป็นบรรทัดฐานของสรรพชีวิตทั้งหลายเป็นการพัฒนาและบริหารชีวิตให้เป็นไปตามความต้องการของกิเลส จะมีการบริหารไปอย่างไม่มีวันสิ้นสุด บทความนี้มีวัตถุประสงค์เขียนขึ้นเพราะเพื่อนำเสนอมุมมองนักการเมืองกับการบูรณาการบริหารจัดการชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา ทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยงในหมู่มนุษย์ ไม่ยั่งยืนมีความแปรปรวนเป็นธรรมดา นับว่าเป็นหลักธรรมที่นักการเมืองต้องยึดมั่นโดยยึดเป็นหลักพื้นฐานในการประกอบกิจต่าง ๆ ในสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ต่อไป

  

Abstract

Thai politics nowadays has events that have occurred continuously in the past. This problem is caused by conflicts between political groups. which has both opposing and supportive opinions Therefore causing chaos in Thai politics that will never end, causing these problems to have a huge impact and deteriorate steadily to the point that they cannot be solved in a timely manner In Buddhism, there are principles and explanations about worldly problems. Buddhist principles therefore teach human beings to accept the various events that occur to themselves, etc. Management of life according to Buddhist principles, those who have cultivated and adapted to the changes of natural laws will not be shaken by the changes. Therefore, managing life for happiness according to the worldly way is the norm of all living beings, developing and managing life according to the desires of desires. There will be an endless administration. This article has the purpose of this article is to present a view of politicians and the integration of life management according to Buddhist principles. All of these things are impermanent among men. Unsustainable, there is normal variability. It is considered a virtue that politicians must adhere to by adhering to the fundamental principles in conducting various activities in society, economy and politics.


Keywords


นักการเมือง, การบริหารจัดการชีวิต, โลกธรรม, politician, life management science, Worldly Vicissitude

Full Text:

PDF

References


คำนวล คำมณี. (2547). ปรัชญาการเมือง. คณะมนุษย์ศาสตร์ปัตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี.

จันทร์ธิภา แสวงทรัพย์ และคณะ. (2560). แนวทางการประยุกต์หลักพุทธธรรมเพื่อการอยู่กับโลกธรรมใพระพุทธศาสนาเถรวาท. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2), 585-600.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมมฺจิตฺโต). (2549). พุทธวิธีในการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). 2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 12, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระศรีคัมภีรญาณ (สมจินต์ สัมมาปญฺโญ/วันจันทร์). (2559). บูรณาการพุทธธรรมเพื่อเสริมสร้างพลังบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระอธิการภูมิสิษฐ์ ปิยสีโล และนัชพล คงพันธ์. (2564). พระสงฆ์กับการเมืองไทยในบริบทสังคมปัจจุบัน. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม. 6(2), 33-44.

พีระ จูน้อยสุวรรณ และสุชัย สิริรวีกูล. (2564). การบริหารชีวิตเพื่อความสุขระหว่างโลกวิถีและธรรมวิถี. วารสารพุทธศิลปกรรม. 4(1), 1-14.

ไพบูลย์ สุขเจตนี่. (2562). การเมืองการปกครองตามแนวพุทธ. วารสารวิจยวิชาการ. 2(2), 163-176.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย 45 เล่ม. ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542. กรุงเทพมหานคร: บริษัทนานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์จำกัด.

วราภาส ประสมสุข. (2543). หลักการบริหารการศึกษาตามแนวพุทธธรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยนเรศวร

สิทธิพร อารมณ์สุขโข. (2561). การบูรณาการหลักพระพุทธศาสนากับศาสตร์บริหารจัดการชีวิตในสังคมไทย. ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

อนุสรณ์ ยกให้. (2549). การนำเสนอรูปแบบการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยนเรศวร.


Refbacks

  • There are currently no refbacks.