วิเคราะห์เปรียบเทียบวัตรปฏิบัติการบิณฑบาตของพระสงฆ์ ในสมัยพุทธกาลและในสังคมไทยปัจจุบัน
Abstract
ทุกองค์กรต้องการให้องค์กรเติบโตและมั่นคงพนักงานถือเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในการพัฒนาองค์กร องค์กรเป็นเครื่องมือของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในการทำงานร่วมกับผู้อื่นที่ต้องใช้ความร่วมมือจากหลายฝ่าย ไม่ว่าในระดับเล็ก หรือใหญ่ การมีผู้นำที่ดีเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยนำงานและนำคนไปยังเป้าหมายที่วางไว้ร่วมกันได้ และพร้อมเผชิญอุปสรรค ช่วยกันแก้ไขปัญหาด้วยกันระหว่างทาง แต่การเป็นผู้นำที่ดี ไม่ใช่แค่การมีตำแหน่งเป็นผู้นำแต่คือการมีภาวะผู้นำ เทคโนโลยีเป็นองค์ประกอบสำคัญที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงต่อกระบวนการกิจกรรมของมนุษย์ในหลาย ๆ ด้าน เช่น สังคมความเป็นอยู่ การปกครอง เศรษฐกิจ แม้แต่ด้านการเมืองการปกครอง การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีนั้นเป็นไปอย่างรวดเร็ว ดังนั้น การทำงานจำเป็นต้องมีทักษะในการสื่อสารการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฐานะผู้นำแล้วนั้น ยิ่งต้องมีความสามารถในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องชัดเจน มีความเข้าใจตรงกัน บทความนี้มีวัตถุประสงค์เขียนเพื่อให้เยาวชน นิสิต นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้ศึกษาและเข้าใจถึงการพัฒนาองค์การและศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์กรภายใต้ยุคการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี วิธีที่จะสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างมีประสิทธิผลทั้งจากภายนอกและภายในองค์การ โดยสามารถสร้างจิตสำนึกให้องค์กรในฐานะที่เป็นผู้นำกับเพื่อนร่วมงานเพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ต่อไป
Keywords
Full Text:
PDFReferences
กระทรวงศึกษาธิการ. (2550). หลักสูตรพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง เพื่อรองรับการกระจายอำนาจสำหรับผู้ริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา. นครปฐม: สถาบันพัฒนาครูคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา.
จิตรา ทรัพย์โฉม. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผลการบริหารงานของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ชนาพร พิทยาบูรณ์. (2560). การสื่อสารของผู้นำกับการเปลี่ยนแปลงสังคม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต. 12(2), 62-72.
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2551). คู่มือสู่องค์การแห่งความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2561). ภาวะผู้นำสำหรับผู้บริหารองค์การ: แนวคิด ทฤษฎีและกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ปัญญางาม.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ธงชัย สันติวงษ์. (2537). องค์การและการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนพานิช.
ธนวรรธ ตั้งสินทรัพย์ศิริ. (2550). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: บริษัท ธนธัชการพิมพ์.
นิตยา นาคดิลก. (2557). การศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการจัดการความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
นิพนธ์ ศศิธรเสาวภา. (2560). ภาวะผู้นำกับการปกครองท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
พัชสิรี ชมพูคำ. (2552). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แมคกรอฮิล.
แพรภัทรยอดแก้ว. ทัศนคติหรือเจตคติ. (Attitude).[ออนไลน์]. แหล่งที่มาจาก: http://gotoknow.org/blog/theories/280647. สืบค้นเมื่อ: 14 สิงหาคม 2566).
รัตติกรณ์ จงวิศาล (2544). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 20(5): 32-50.
สายหยุด ใจสำราญ และสุภาพร พิศาลบุตร. (2549). การพัฒนาองค์การ. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
สิทธิโชค วรานุสันติกุล. (2546). จิตวิทยาสังคม: ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).
อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง. (2550). การพัฒนาระบบการบริหารจัดการความรู้ในองค์กรระยะที่ 3 ของสำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Bass & Avolio (1993). Transformative Leadership and Organizational Culture Public Administration Quarterly, 17, 112-121.
Fidler FE. and Garcia JE. (1987). A new approach to effective leadership: Intellectual resources and organizational performance. John Wiley & Sons.
James, M. B., (2010). Leadership. New York: Harper Perennial Modern Classices, 1st edition.
Monavariyan, A.& Farmani, G. (2012). Human Resource Management and Organization Development in Knowledge-Based Era. Global Journal of Management and Business Research. 12(7). 9-16.
Sanai Jui To. (2008). Modern organization. Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University.
Stogdill, R. W. (1974). Handbook of Leadership: A Survey of Theory and Research. New York: The Free Press.
Refbacks
- There are currently no refbacks.