การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความด้วยกลวิธี อาร์ อี เอ พี
Abstract
การอ่านจับใจความเป็นการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านของผู้อ่านให้เกิดความเข้าใจในเนื้อหาที่อ่าน ซึ่งมีความสำคัญต่อการทำความเข้าใจในเนื้อหาที่มีการสื่อสารในปัจจุบันเป็นอย่างมาก การนำเอากลวิธีแบบ อาร์อีเอพี มาใช้เสริมเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านจึงเป็นสิ่งที่สอดคล้องกับแนวทางในการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ เนื่องจากแนวทางของกลวิธีนี้มีการตั้งจุดประสงค์ในการอ่านในขั้นแรก การวิเคราะห์ใจความสำคัญให้ตรงกับจุดประสงค์ การเรียบเรียงเนื้อหาที่เป็นความเข้าใจของตนเองที่สอดคล้องและถูกต้องกับเนื้อหา รวมถึงการตรวจสอบซ้ำเพื่อให้เกิดความถูกต้อง
Full Text:
PDFReferences
กรมวิชาการ, (2551), หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551, กรุงเทพมหานคร : การศาสนา.
ดวงใจ ไทยอุบล, (2552), ทักษะการเขียนภาษาไทย, พิมพ์ครั้งที่ 6, กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
บุปผา ล้วนเล็ก, (2540), การพัฒนาชุดการสอนการอ่านจับใจความวิชาภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้หนังสือสำหรับเด็กเป็นสื่อหลัก, วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน สาขาวิชาศึกษาศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปัญญา สุนันตา, (2563), ความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษของนิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ ที่เรียนโดยใช้กลวิธี KWL PLUS, รายงานวิจัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่
วชิราพรรณ จันทร์เทศน์, (2549), การพัฒนาชุดการเรียนด้วยตนเองวิชาภาษาไทยเรื่อง การอ่านจับใจความสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสรรพาวุธวิทยากรุงเทพมหานคร, วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วนิดา สายสุวรรณ, (2544), ผลของการเรียนแบบปรึกษากับการเรียนแบบช่วยเหลือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์การอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดเทศบาล จังหวัดนครราชสีมา, วิทยานิพนธ์ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงหลักสูตรและการสอน สาขาวิชาศึกษาศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์, (2547), หลักและการสอนอ่านภาษาไทย, พิมพ์ครั้งที่ 8, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช.
สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์, (2547), หลักและการสอนอ่านภาษาไทย, พิมพ์ครั้งที่ 8, กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช.
สุวรรณา ตั้งทีฆะรักษ์, (2548), การอ่าน, พิมพ์ครั้งที่ 8, กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
Manzo and Ula, (2002), iREAP: Improving Reading, Writing, and Thinking in the Wired Classroom, Journal of Adolescent & Adult Literacy, International Literacy Association, Vol. 46, No. 1.
Manzo and Ula, (2002), iREAP: Improving Reading, Writing, and Thinking in the Wired Classroom, Journal of Adolescent & Adult Literacy, International Literacy Association, Vol. 46, No. 1.
Marilyn G. Eanet and Anthony V. Manzo, (1976), REAP - A Strategy for Improving Reading/Writing/ Study Skills, Journal of Reading, International Literacy Association, Vol. 19, No. 8.
Pui Lee Liu, (2013), Implementation of the Whole Language in Hong Kong Kindergartens: The Teachers’ Perceptive, Open Journal of Modern Linguistics, Vol.3 No.3.
Rosenblatt, (1988), Center for the Study of Reading : A Reading Research and Education Center Report, USA : Illinois.
Shomei Wang and Ken Goodman, (2014), Making Sense of Chinese Reading: Yi and Xing, Open Journal of Modern Linguistics, Vol.4 No.5.
Refbacks
- There are currently no refbacks.